SlideShare a Scribd company logo
1 of 13
ครูสมศรีเป็นครูสอนวิชาสังคมศึกษา เป็นผู้มีความรู้และมี
ความเชี่ยวชาญในด้านนี้เป็นอย่างดี โดยวิธีการสอนนักเรียนในแต่ละ
ครั้ง ครูสมศรีมักจะสอนหรือบรรยายให้นักเรียนจา และสื่อการสอนที่
นามาใช้ในประกอบการสอนก็เป็นในลักษณะที่เน้นการถ่ายทอดความรู้
ด้วย ไม่ว่าจะเป็นหนังสือเรียน, การสอนบนกระดาน หรือแม้กระทั่ง
วิดีโอที่นามาเปิดให้นักเรียนได้เรียน โดยครูสมศรีมีความเชื่อที่ว่า การ
สอนที่ดีและมีประสิทธิภาพนั้น คือสามารถทาให้นักเรียนสามารถจา
เนื้อหา
เรื่องราวในบทเรียนให้ได้มากที่สุด ส่วนนักเรียนของครู
สมศรีก็เป็นประเภทที่ว่ารอรับเอาความรู้จากครูแต่เพียงอย่างเดียว
ดาเนินกิจกรรมการเรียนตามที่ครูกาหนดทั้งหมด เรียนไปได้ไม่นานก็
เบื่อ ไม่กระตือรือร้นที่จะหาความรู้จากที่อื่นเพิ่มเติม ครูให้ทาแค่ไหนก็
ทาแค่นั้นพอ
ซึ่งจากวิธีการสอนของครูสมศรีและลักษณะของนักเรียนที่
กล่าวมาทั้งหมด ได้ส่งผลให้เกิดปัญหาขึ้นคือ เมื่อเรียนผ่านมาได้ไม่
นานก็ทาให้ลืมเนื้อหาที่เคยเรียนมา ไม่สามารถคิดได้ด้วยตนเองและ
ไม่สามารถที่จะนามาใช้แก้ปัญหาในชีวิตประจาวันได้
ภารกิจที่ 1
วิเคราะห์แนวคิดวิธีการจัดการเรียนการสอน และการใช้สื่อการ
สอนของครูสมศรี ตลอดจนวิธีการเรียนรู้ของนักเรียน ว่าสอดคล้องกับ
ยุคปฏิรูปการศึกษาที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญหรือไม่ พร้อมทั้งให้เหตุผล
ประกอบ
วิธีสอนของครูสมศรี
สอน หรือ บรรยาย
ให้ “จา”
วิธีสอนของครูสมศรีไม่สอดคล้องกับกับยุคปฏิรูปการศึกษาที่เน้นผู้เรียน
เป็นสาคัญ เนื่องจากการศึกษาที่เน้นผู้เรียนเป็ นสาคัญนั้น ครูจะสอนให้
นักเรียนคิดเป็น แก้ปัญหาเป็น ฝึกกระบวนการคิดอย่างมีเหตุผล สนใจวิธีคิด
มากกว่าคาตอบ ให้นักเรียนศึกษาค้นคว้าด้วยตัวเอง นักเรียนสามารถ
เชื่อมโยงความรู้ได้ เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ
คติในการสอนของครูสมศรี
การสอนที่มีประสิทธิภาพ
นักเรียนจาเนื้อหาได้มากที่สุด
การสอนที่ผู้เรียนควรได้รับคือ ทักษะการคิดในระดับสูง (Higher-Order Thinking
Skills) ได้แก่ การคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ ตลอดจนการแก้ปัญหา และการถ่ายโยง
ความรู้ โดยเน้น การใช้วิธีการต่างๆ อาทิ สถานการณ์จาลอง การค้นพบ การ
แก้ปัญหา และการเรียนแบบร่วมมือ สาหรับผู้เรียนจะได้รับประสบการณ์การ
แก้ปัญหาที่สอดคล้องกับสภาพชีวิตจริง
นักเรียนของครูสมศรี
รอรับความรู้จากครูเพียงอย่างเดียว
การศึกษาที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญนั้น ผู้เรียนมีโอกาสใช้กระบวนการคิด
มีโอกาสแสดงออกอิสระ ได้ลงมือปฏิบัติด้วยตัวเอง ได้ใช้สื่อต่างๆเพื่อ
การเรียนรู้ เรียนรู้จากสภาพจริงและประสบการณ์ตรง ได้แลกเปลี่ยน
เรียนรู้ร่วมกับผู้อื่น เรียนรู้ตรงกับความต้องการ ความสนใจ และความ
ถนัดของตนเอง เรียนรู้อย่างมีความสุข
ภารกิจที่ 2
วิเคราะห์เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงทางการศึกษามาสู่ยุคปฏิรูป
การเรียนรู้ว่ามีการเปลี่ยนแปลงทางด้านใดบ้าง พร้อมทั้งอธิบายเหตุผล
สนับสนุน
การเรียนการสอน
แบบเดิม
การเรียนการสอน
แบบใหม่
ครูจะสอนให้นักเรียน
คิดเป็น แก้ปัญหาเป็น
ฝึกกระบวนการคิด
อย่างมีเหตุผล สนใจ
วิธีคิดมากกว่าคาตอบ
ให้นักเรี ยนศึกษา
ค้นคว้าด้วยตัวเอง
นักเรี ยนสามารถ
เชื่อมโยงความรู้ได้
เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ
Bruner กล่าวว่าผู้เรียนต้อง
ยกระดับการเรียนรู้ที่เริ่มจาก
“การจดจา”ข้อเท็จจริงไปสู่
การเริ่มต้นที่จะคิดอย่างมี
วิจารณญาณ และสร้างสรรค์
และผู้สอนจะต้องศึกษา
เทคโนโลยีต่างๆ ที่จะ
นามาใช้เพื่อช่วยให้ผู้เรียน
ได้รับความรู้ใหม่
จะมีครูยืนอยู่หน้า
ชั้นและถ่ายทอด
เนื้ อ หาข ณ ะ ที่
นักเรี ยนนั่งฟัง
และรอรับความรู้
จากครูครูจะสอน
ให้นักเรียนท่องจา
เพียงอย่างเดียว
หรือใช้หลัก ฝึก-
ทา-ย้า-ทวน
Driscoll กล่าวว่าผู้เรียนไม่ใช้ภาชนะที่ว่างเปล่าที่รอ
การเติมให้เต็มแต่ผู้เรียนเป็นสิ่งมีชีวิตที่มีการตื่นตัวใน
การหาความรู้ คิดค้น เสาะแสวงหาวิธีที่จะวิเคราะห์ ตั้ง
คาถาม และอธิบาย
การเปลี่ยนแปลงผู้เรียน
การเปลี่ยนแปลงโฉมหน้าทาง
การศึกษา
การเปลี่ยนแปลงมาสู่
การเรียนรู้ที่เน้น
ผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
สิ่งที่สาคัญและเป็น
ความต้องการของ
การศึกษาในขณะนี้
คือการสอนให้
ผู้เรียนมีทักษะการ
คิดในระดับสูง
เน้นผู้เรี ยนเป็ นสาคัญ เช่น
ผู้เรียนมีโอกาสใช้กระบวนการ
คิด มีโอกาสแสดงออกอิสระ
ได้ลงมือปฏิบัติด้วยตัวเอง ได้ใช้
สื่อต่างๆเพื่อการเรียนรู้ เรียนรู้
จากสภาพจริงและประสบการณ์
ตรง ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้
ร่วมกับผู้อื่น เรียนรู้ตรงกับ
ความต้องการ ความสนใจ และ
ความถนัดของตนเอง เรียนรู้
อย่างมีความสุข
ผู้เรียนจะต้องมีปฏิสัมพันธ์กับแหล่งข้อมูลที่มี
ศักยภาพ ได้แก่ ครู เทคโนโลยี พ่อแม่ ภูมิ
ปัญญาท้องถิ่น บุคคลอื่นๆ และสื่อต่างๆเพื่อ
นามาสู่การหยั่งรู้ในปัญหาและการแก้ปัญหาครู
คือผู้แนะแนวทางและผู้อานวยการเพื่อให้
นักเรียนบรรลุเป้าหมายการเรียนรู้
ภารกิจที่ 3
ปรับวิธีการสอนและวิธีการใช้สื่อการสอนของครูสมศรี ให้
เหมาะสมกับยุคปฏิรูปการศึกษาที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ
วิธีการสอนของครูสมศรี ปรับใหม่
สอน หรือ บรรยาย
ให้ “จา” และถือคติที่ว่า
การสอนที่มีประสิทธิภาพ
นักเรียนจาเนื้อหาได้มากที่สุด
สอนให้นักเรียนคิดเป็น แก้ปัญหาเป็น ฝึก
กระบวนการคิดอย่างมีเหตุผล สนใจวิธีคิดมากกว่า
คาตอบ ให้นักเรียนศึกษาค้นคว้าด้วยตัวเอง นักเรียน
สามารถเชื่อมโยงความรู้ได้ เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ
การใช้สื่อในการสอนของครู
สมศรี
ปรับใหม่
หนังสือเรียน , การสอนบน
กระดาน , วิดีโอ
สอนควรจะศึกษาเทคนิค วิธีการเทคโนโลยีต่างๆ ที่จะ
นามาใช้เพื่อช่วยให้ผู้เรียนได้รับความรู้ใหม่ ซึ่งแต่เดิม
มักเป็นการสอนให้ผู้เรียนเรียนโดยการท่องจา ควร
ปรับเปลี่ยนมาสู่การใช้เทคนิควิธีการที่จะช่วยผู้เรียน
รับข้อเท็จจริงได้อย่างมีประสิทธิภาพ
Chapter2 group

More Related Content

What's hot

chapter 2 the changing of educational technology
chapter 2 the changing of educational technologychapter 2 the changing of educational technology
chapter 2 the changing of educational technologyPacharaporn087-3
 
การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้Fern's Supakyada
 
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้Sasitorn Seajew
 
9การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
9การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้9การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
9การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้a35974185
 
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้lalidawan
 
นวัตกรรมบทที่ 9
นวัตกรรมบทที่ 9นวัตกรรมบทที่ 9
นวัตกรรมบทที่ 9Setthawut Ruangbun
 
นวัตกรรม บทที่ 2 จ้า
นวัตกรรม บทที่ 2 จ้านวัตกรรม บทที่ 2 จ้า
นวัตกรรม บทที่ 2 จ้าLALILA226
 
นวัตกรรม บทที่ 2 กลุ่มชุติกาญจน์
นวัตกรรม บทที่ 2 กลุ่มชุติกาญจน์นวัตกรรม บทที่ 2 กลุ่มชุติกาญจน์
นวัตกรรม บทที่ 2 กลุ่มชุติกาญจน์Natcha Wannakot
 
สถานการณ์ปัญหา บทที่2
สถานการณ์ปัญหา บทที่2สถานการณ์ปัญหา บทที่2
สถานการณ์ปัญหา บทที่2Pari Za
 
Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้Wuth Chokcharoen
 
Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้Pan Kannapat Hengsawat
 
ไม่เหนื่อยไม่ท้อ ไม่เครียด เมื่อรู้จักตนเอง
ไม่เหนื่อยไม่ท้อ ไม่เครียด เมื่อรู้จักตนเองไม่เหนื่อยไม่ท้อ ไม่เครียด เมื่อรู้จักตนเอง
ไม่เหนื่อยไม่ท้อ ไม่เครียด เมื่อรู้จักตนเองBiobiome
 

What's hot (17)

chapter 2 the changing of educational technology
chapter 2 the changing of educational technologychapter 2 the changing of educational technology
chapter 2 the changing of educational technology
 
การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
 
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
 
9การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
9การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้9การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
9การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
 
Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
Chapter 9  การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้ Chapter 9  การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
 
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
 
นวัตกรรมบทที่ 9
นวัตกรรมบทที่ 9นวัตกรรมบทที่ 9
นวัตกรรมบทที่ 9
 
นวัตกรรม บทที่ 2 จ้า
นวัตกรรม บทที่ 2 จ้านวัตกรรม บทที่ 2 จ้า
นวัตกรรม บทที่ 2 จ้า
 
นวัตกรรม บทที่ 2 กลุ่มชุติกาญจน์
นวัตกรรม บทที่ 2 กลุ่มชุติกาญจน์นวัตกรรม บทที่ 2 กลุ่มชุติกาญจน์
นวัตกรรม บทที่ 2 กลุ่มชุติกาญจน์
 
Chapter 9
Chapter 9Chapter 9
Chapter 9
 
ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 2
ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 2ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 2
ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 2
 
สถานการณ์ปัญหา บทที่2
สถานการณ์ปัญหา บทที่2สถานการณ์ปัญหา บทที่2
สถานการณ์ปัญหา บทที่2
 
Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
 
Chapter 9
Chapter 9 Chapter 9
Chapter 9
 
Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
 
Chapter 9 pdf
Chapter 9 pdfChapter 9 pdf
Chapter 9 pdf
 
ไม่เหนื่อยไม่ท้อ ไม่เครียด เมื่อรู้จักตนเอง
ไม่เหนื่อยไม่ท้อ ไม่เครียด เมื่อรู้จักตนเองไม่เหนื่อยไม่ท้อ ไม่เครียด เมื่อรู้จักตนเอง
ไม่เหนื่อยไม่ท้อ ไม่เครียด เมื่อรู้จักตนเอง
 

Viewers also liked

Tutorial penggunaan ppt splsv.
Tutorial penggunaan ppt splsv.Tutorial penggunaan ppt splsv.
Tutorial penggunaan ppt splsv.Irma Nurjannah
 
English idioms and indonesian idioms
English idioms and indonesian idiomsEnglish idioms and indonesian idioms
English idioms and indonesian idiomsarnandani
 
National Midwifery Week Celebrates Nurse Midwives
National Midwifery Week Celebrates Nurse MidwivesNational Midwifery Week Celebrates Nurse Midwives
National Midwifery Week Celebrates Nurse MidwivesBarbara Bechtel Midwife
 
English idioms and indonesian idioms
English idioms and indonesian idiomsEnglish idioms and indonesian idioms
English idioms and indonesian idiomsarnandani
 
Peer teaching kelas 7 smp
Peer teaching kelas 7 smpPeer teaching kelas 7 smp
Peer teaching kelas 7 smpIrma Nurjannah
 
rpp pelajaran matematika kelas 7 materi bilangan bulat
rpp pelajaran matematika kelas 7 materi bilangan bulatrpp pelajaran matematika kelas 7 materi bilangan bulat
rpp pelajaran matematika kelas 7 materi bilangan bulatIrma Nurjannah
 
Lembar kerja siswa kelas 7 tentang bilangan bulat .
Lembar kerja siswa kelas 7 tentang bilangan bulat .Lembar kerja siswa kelas 7 tentang bilangan bulat .
Lembar kerja siswa kelas 7 tentang bilangan bulat .Irma Nurjannah
 
Lembar kerja siswa kelas 7 tentang bilangan bulat
Lembar kerja siswa kelas 7 tentang bilangan bulatLembar kerja siswa kelas 7 tentang bilangan bulat
Lembar kerja siswa kelas 7 tentang bilangan bulatIrma Nurjannah
 
buku siswa pelajaran matematika kelas 7 materi bilangan bulat
buku siswa pelajaran matematika kelas 7 materi bilangan bulatbuku siswa pelajaran matematika kelas 7 materi bilangan bulat
buku siswa pelajaran matematika kelas 7 materi bilangan bulatIrma Nurjannah
 
rpp pelajaran matematika kelas 7 materi bilangan bulat
rpp pelajaran matematika kelas 7 materi bilangan bulatrpp pelajaran matematika kelas 7 materi bilangan bulat
rpp pelajaran matematika kelas 7 materi bilangan bulatIrma Nurjannah
 

Viewers also liked (19)

Chapter4
Chapter4Chapter4
Chapter4
 
Chapter7
Chapter7Chapter7
Chapter7
 
Re verification mobilinkn
Re verification mobilinknRe verification mobilinkn
Re verification mobilinkn
 
Chapter8
Chapter8Chapter8
Chapter8
 
Tutorial penggunaan ppt splsv.
Tutorial penggunaan ppt splsv.Tutorial penggunaan ppt splsv.
Tutorial penggunaan ppt splsv.
 
Chapter5
Chapter5Chapter5
Chapter5
 
English idioms and indonesian idioms
English idioms and indonesian idiomsEnglish idioms and indonesian idioms
English idioms and indonesian idioms
 
Chapter3
Chapter3Chapter3
Chapter3
 
National Midwifery Week Celebrates Nurse Midwives
National Midwifery Week Celebrates Nurse MidwivesNational Midwifery Week Celebrates Nurse Midwives
National Midwifery Week Celebrates Nurse Midwives
 
English idioms and indonesian idioms
English idioms and indonesian idiomsEnglish idioms and indonesian idioms
English idioms and indonesian idioms
 
Chapter6
Chapter6Chapter6
Chapter6
 
Matematika SPLSV
Matematika SPLSVMatematika SPLSV
Matematika SPLSV
 
Peer teaching kelas 7 smp
Peer teaching kelas 7 smpPeer teaching kelas 7 smp
Peer teaching kelas 7 smp
 
rpp pelajaran matematika kelas 7 materi bilangan bulat
rpp pelajaran matematika kelas 7 materi bilangan bulatrpp pelajaran matematika kelas 7 materi bilangan bulat
rpp pelajaran matematika kelas 7 materi bilangan bulat
 
Lembar kerja siswa kelas 7 tentang bilangan bulat .
Lembar kerja siswa kelas 7 tentang bilangan bulat .Lembar kerja siswa kelas 7 tentang bilangan bulat .
Lembar kerja siswa kelas 7 tentang bilangan bulat .
 
Chick lit
Chick litChick lit
Chick lit
 
Lembar kerja siswa kelas 7 tentang bilangan bulat
Lembar kerja siswa kelas 7 tentang bilangan bulatLembar kerja siswa kelas 7 tentang bilangan bulat
Lembar kerja siswa kelas 7 tentang bilangan bulat
 
buku siswa pelajaran matematika kelas 7 materi bilangan bulat
buku siswa pelajaran matematika kelas 7 materi bilangan bulatbuku siswa pelajaran matematika kelas 7 materi bilangan bulat
buku siswa pelajaran matematika kelas 7 materi bilangan bulat
 
rpp pelajaran matematika kelas 7 materi bilangan bulat
rpp pelajaran matematika kelas 7 materi bilangan bulatrpp pelajaran matematika kelas 7 materi bilangan bulat
rpp pelajaran matematika kelas 7 materi bilangan bulat
 

Similar to Chapter2 group

Problem based learning (16 ม .ย. 56)
Problem based learning (16 ม .ย. 56)Problem based learning (16 ม .ย. 56)
Problem based learning (16 ม .ย. 56)Wiwat Ngamsane
 
สถานการณ์ปัญหา บทที่2
สถานการณ์ปัญหา บทที่2สถานการณ์ปัญหา บทที่2
สถานการณ์ปัญหา บทที่2Pari Za
 
Introduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational mediaIntroduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational mediapompompam
 
Introduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational mediaIntroduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational mediapompompam
 
Introduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational mediaIntroduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational mediapompompam
 
Changing of educational technology by math ed kku sec2 new
Changing of educational technology by math ed kku sec2 newChanging of educational technology by math ed kku sec2 new
Changing of educational technology by math ed kku sec2 newchatruedi
 
Changing of educational technology by math ed kku
Changing of educational technology by math ed kkuChanging of educational technology by math ed kku
Changing of educational technology by math ed kkuchatruedi
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยChaya Kunnock
 
chapter 2 introduction to technologies and educational media
chapter 2 introduction to technologies and educational mediachapter 2 introduction to technologies and educational media
chapter 2 introduction to technologies and educational mediaZhao Er
 
Charpter 2 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
Charpter 2 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาCharpter 2 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
Charpter 2 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาThitaporn Chobsanchon
 
Chapter2
Chapter2Chapter2
Chapter2Bee Bie
 
งานครูผู้ช่วย
งานครูผู้ช่วยงานครูผู้ช่วย
งานครูผู้ช่วยMoss Worapong
 
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาAomJi Math-ed
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยVs'veity Sirvcn
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยVs'veity Sirvcn
 

Similar to Chapter2 group (20)

Problem based learning (16 ม .ย. 56)
Problem based learning (16 ม .ย. 56)Problem based learning (16 ม .ย. 56)
Problem based learning (16 ม .ย. 56)
 
สถานการณ์ปัญหา บทที่2
สถานการณ์ปัญหา บทที่2สถานการณ์ปัญหา บทที่2
สถานการณ์ปัญหา บทที่2
 
Chapter2
Chapter2Chapter2
Chapter2
 
Introduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational mediaIntroduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational media
 
Introduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational mediaIntroduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational media
 
Introduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational mediaIntroduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational media
 
Changing of educational technology by math ed kku sec2 new
Changing of educational technology by math ed kku sec2 newChanging of educational technology by math ed kku sec2 new
Changing of educational technology by math ed kku sec2 new
 
Changing of educational technology by math ed kku
Changing of educational technology by math ed kkuChanging of educational technology by math ed kku
Changing of educational technology by math ed kku
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
chapter 2 introduction to technologies and educational media
chapter 2 introduction to technologies and educational mediachapter 2 introduction to technologies and educational media
chapter 2 introduction to technologies and educational media
 
Chapter 2 presentation (1)
Chapter 2 presentation (1)Chapter 2 presentation (1)
Chapter 2 presentation (1)
 
Charpter 2 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
Charpter 2 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาCharpter 2 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
Charpter 2 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
 
Chapter2
Chapter2Chapter2
Chapter2
 
UNIT 2
UNIT 2UNIT 2
UNIT 2
 
Innovation and it for learning 1
Innovation and it for learning 1Innovation and it for learning 1
Innovation and it for learning 1
 
ครูมืออาชีพ
ครูมืออาชีพครูมืออาชีพ
ครูมืออาชีพ
 
งานครูผู้ช่วย
งานครูผู้ช่วยงานครูผู้ช่วย
งานครูผู้ช่วย
 
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
 

Chapter2 group