SlideShare a Scribd company logo
1 of 6
Download to read offline
บทที่ 1
ประวัติของดนตรีสากล
การสืบสาวเรื่องราวเกี่ยวกับความเป็นมาของดนตรีตั้งแต่สมัยโบราณมา
นับว่าเป็นเรื่องยากที่จะให้ได้เรื่องราว สมัยของการรู้จักใช้อักษรหรือสัญลักษณ์อื่น ๆ พึ่ง
จะมีปรากฏและเริ่มนิยมใช้กันในสมัยเริ่มต้นของยุค Middle age คือระหว่างศตวรรษที่
5-6 และการบันทึกมีเพียงเครื่องหมายแสดงเพียงระดับของเสียง และจังหวะ
(Pitch and Time) ดนตรีเกิดขึ้นมาในโลกพร้อม ๆ กับมนุษย์เรานั่นเอง ในยุคแรก ๆ
มนุษย์อาศัยอยู่ในป่าดง ในถ้า ในโพรงไม้ แต่ก็รู้จักการร้องราทาเพลงตาม
ธรรมชาติ เช่นรู้จักปรบมือ เคาะหิน เคาะไม้เป่าปาก เป่าเขา และเปล่งเสียงร้องตาม
เรื่อง การร้องราทาเพลงทาไปเพื่ออ้อนวอนพระเจ้าเพื่อช่วยให้ตนพ้นภัยบันดาลความสุข
ความอุดมสมบูรณ์ต่าง ๆ ให้แก่ตนหรือเป็นการบูชาแสดงความขอบคุณพระเจ้าที่บันดาล
ให้ตนมีความสุขความสบาย
โลกได้ผ่านหลายยุคหลายสมัย ดนตรีได้วิวัฒนาการไปตามความเจริญและ
ความคิดสร้างสรรค์ของมนุษย์ เครื่องดนตรีที่เคยใช้ในสมัยเริ่มแรกก็มีการวิวัฒนาการ
มาเป็นขั้น ๆ กลายเป็นเครื่องดนตรีที่เราเห็นอยู่ทุกวัน เพลงที่ร้องเพื่ออ้อนวอนพระ
เจ้า ก็กลายมาเป็นเพลงสวดทางศาสนาและเพลงร้อง ในระยะแรกดนตรีมีเพียงเสียง
เดียวและแนวเดียวเท่านั้นเรียกว่า Melody ไม่มีการประสานเสียง จนถึงศตวรรษที่
12 มนุษย์เราเริ่มรู้จักการใช้เสียงต่าง ๆ มาประสานกันอย่างง่าย ๆ เกิดเป็นดนตรีหลาย
เสียงขึ้นมา

6
ดนตรีสากล มีประวัติความเป็นมาและ
วิวัฒนาการที่ยาวนาน แสดงถึงความ
เจริญรุ่งเรืองทาง วัฒนธรรมของชาติ
ตะวันตกซึ่งเป็นที่นิยมและยอมรับกันทั่วโลก
ใน การศึกษาดนตรีสากล เพื่อความรู้ ความ
เข้าใจ และความซาบซึ้งในดนตรีตะวันตก จึง
จาเป็นจะต้องศึกษาวิวัฒนาการของดนตรี
สากลในด้านต่าง ๆ ดังนี้
1. ยุคกลาง (Middle Age) ค.ศ.500-1400
บทเพลงส่วนใหญ่เป็นเพลงร้องที่ใช้ในโบสถ์เพื่อสรรเสริญพระเจ้า
เพียงอย่างเดียว โดยบางครั้งอาจเป็นการร้องสอดประสานกันบ้างประมาณ 2-3 แนว ใน
ปลายยุค และยังไม่พบการบรรเลงที่เป็นรูปแบบมาตรฐานอย่างเด่นชัด
2. ยุคเรอเนสซองซ์หรือยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance) ค.ศ.1400-1600
บทเพลงในยุคนี้เริ่มมีการผสมผสานระหว่างเพลงพื้นฐานกับเพลงที่ใช้ใน
โบสถ์โดยการนาเอาเทคนิคการประพันธ์เพลงพื้นบ้านมาประยุกต์ใช้กับเพลงสวด ทา
ให้เกิดการนาเอาเครื่องดนตรีบางชนิดเข้ามาประกอบในเพลงสวดที่ใช้ในพิธีกรรมต่าง ๆ
เช่น ออร์แกน ฮาร์ฟซิคอร์ด เป็นต้น
3. ยุคบาโรก (Baroque) ค.ศ.1600-1750
เครื่องดนตรีได้รับการพัฒนาจึงทาให้นักดนตรีมีความสามารถในการบรรเลง
อย่างมาก จึงทาให้ยุคนี้มีประเภทการบรรเลงดนตรีที่หลากหลายมากขึ้น เช่น โซนาตา
คอนแชร์โต โอเปรา เป็นต้น เริ่มมีการผสมวงออร์เคสตรา เพื่อใช้ประกอบการแสดง
ละครเพลงหรือโอเปรา (Opera) แต่ลักษณะการผสมวงของเครื่องดนตรียังไม่มี
การกาหนดที่แน่นอน นอกจากนี้เครื่องดนตรีประเภทเครื่องสายยังได้รับการพัฒนาอย่าง
มาก
7
4. ยุคคลาสสิก (The Classical Era) ค.ศ. 1750-1820
เครื่องดนตรีมีวิวัฒนาการมาจนสมบูรณ์ที่สุด เริ่มมีการผสมวงที่กาหนด
แน่นอนว่าเป็นวงเล็กหรือใหญ่ คือ วงแชมเบอร์มิวสิก และวงออร์เคสตราในการจัดวง
ออร์เคสตราใช้เครื่องดนตรีครบทุกประเภท คือ เครื่องสาย เครื่องเป่าลมไม้เครื่องเป่าลม
ทองเหลือง และเครื่องตี วงออร์เคสตรา ในยุคนี้ถือได้ว่ามีรูปแบบที่ใช้เป็นแบบแผนมา
จนถึงปัจจุบัน
5. ยุคโรแมนติก (The Romantic Era) ค.ศ. 1820-1900
ในยุคนี้ เปียโนเป็นเครื่องดนตรีที่ได้รับ
การพัฒนารูปร่างจนสามารถบรรเลงด้วยวิธีการ
และเทคนิคต่าง ๆ ที่หลากหลายได้เป็นอย่างดี
ในส่วนของการผสมวงออร์เคสตรา ยังคงใช้
หลักการผสมวงออร์เคสตราตามยุคคลาสสิก และ
เพิ่มขนาดโดยการเพิ่มจานวนเครื่องดนตรีให้มี
ความยิ่งใหญ่ขึ้น เพื่อให้อารมณ์ของบทเพลง
มีความหลากหลายและสามารถสื่อถึงผู้ฟังได้อย่างเด่นชัด
6. ยุคศตวรรษที่ 20 ค.ศ.1900-ปัจจุบัน
รูปแบบดนตรีมีการผสมผสานรูปแบบใหม่ขึ้น ซึ่งมีการนาเสียงจากเครื่อง
อิเล็กทรอนิกส์มาใช้เป็นเครื่องดนตรีด้วย ส่วนดนตรีในรูปแบบดนตรีคลาสสิกก็ยังคงใช้
รูปแบบการผสมวงตามยุคคลาสสิก ซึ่งไม่มีการเปลี่ยนแปลงแต่จะเน้นที่รูปแบบ
การประพันธ์เพลงมากกว่า และในยุคนี้เริ่มมีวงดนตรีผสมผสานรูปแบบใหม่ซึ่งเป็น
รูปแบบวงดนตรีที่ผสมผสานระหว่าง แอฟริกาตะวันตก อเมริกาและยุโรป ที่เรียกว่าวง
ดนตรีแจ๊ส (Jazz) เครื่องดนตรีที่ใช้ในวงมักประกอบด้วย ทรัมเป็ต คลาริเน็ต ทรอมโบน
ทูบา และกลองประเภทต่าง ๆ เป็นต้น
8
บทเพลงสากลในยุคต่าง ๆ
1. ยุคกลาง (Middle Age) ค.ศ. 500-1400
บทเพลงที่ปรากฏในยุคนี้ คือ เพลงสวด (Chant) ซึ่งเป็นบทเพลงที่ใช้ใน
พิธีกรรม เป็นบทเพลงศักดิ์สิทธิ์ใช้เป็นสื่อกลางในการติดต่อกับพระผู้เป็นเจ้า เนื้อหาของ
เพลงจะเป็นการสวดอ้อนวอนต่อพระผู้เป็นเจ้า ภาษาที่ใช้ในบทเพลงร้องส่วนใหญ่ คือ
ภาษาละติน ในระยะแรก เพลงสวดเป็นการร้องแนวเดียวไม่มีดนตรีประกอบไม่มีอัตรา
จังหวะและจะใช้เสียงเอื้อนในการทาทานองไปไม่มีกาหนดกฎเกณฑ์ที่ตายตัว ต่อมา
ในระยะหลัง ๆ เริ่มพัฒนาการร้องให้มีแนวการร้องสองประสาน เป็นเพลงร้องสองแนว
และเริ่มที่จะมีอัตราจังหวะที่แน่นอน จนกลายเป็นรูปแบบการร้องประสานเสียง
ที่มากกว่า 2 แนวขึ้นไป
2. ยุคเรอเนสซองซ์หรือยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)ค.ศ.1400-1600
ดนตรียังคงเป็นลักษณะสอดประสานทานองโดยมีการล้อกันของแนวทานอง
ที่เหมือนกันรูปแบบการประพันธ์เพลงมีมากขึ้น ในยุคนี้ยังเน้นการร้องเป็นพิเศษสาหรับ
ดนตรีคฤหัสถ์(ดนตรีประชาชนทั่วไป) เริ่มมีการบันทึกเป็นลายลักษณ์อักษร ซึ่งมักเป็น
เพลงร้องประกอบดนตรี
3. ยุคบาโรก (Baroque) ค.ศ. 1600-1750
บทเพลงบรรเลงมีความสาคัญเทียบเท่ากับบทเพลงร้อง เนื่องจากเครื่องดนตรี
มีการพัฒนาทั้งรูปแบบและเสียง รูปแบบการประพันธ์เพลงในยุคนี้มีการพัฒนาและ
ปรับปรุงจนมีลักษณะเด่นชัด โดยเฉพาะคอนแชร์โต (Concerto) ตัวบทเพลงประชัน
ระหว่างเครื่องดนตรีประเภทเดี่ยวกับวงดนตรี ซึ่งแสดงความสามารถของผู้บรรเลงได้
เป็นอย่างดี บทเพลง Concerto ที่ได้รับความนิยมคือ The Four Season ของ วิวัลดี และยุค
นี้เป็นจุดเริ่มต้นของบทเพลงบรรเลงประเภทต่าง ๆ
9
4. ยุคคลาสสิก (The Classic Era) ค.ศ. 1750-1820
เป็นยุคที่สาคัญมากของดนตรีตะวันตก เนื่องจากรูปแบบต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็น
การประพันธ์เพลง การผสมวง หรือบทเพลงบรรเลงมีความเป็นแบบแผนอย่างมาก
รูปแบบการประพันธ์บทเพลงในยุคนี้ได้แก่ โซนาตา คอนแชร์โต ซิมโฟนี และการ
ผสมวงได้แก่ วงแชมเบอร์มิวสิกและออร์เคสตรา ทุกอย่างล้วนจัดให้มีมาตรฐานทั้งสิ้น
นอกจากนี้ ละครร้องหรือโอเปรา (Opera) ก็ได้รับการพัฒนาจนได้รับความนิยมทั่วไป
5. ยุคโรแมนติก (The Romantic Era) ค.ศ. 1820-1900
ยุคนี้เป็นยุคที่นาหลักการของยุคคลาสสิกมาใช้ผสมผสานกับการใส่อารมณ์
ความรู้สึกเข้าไปในบทเพลงทาให้บทเพลงมีความไพเราะ สง่างาม อ่อนหวานใน
ขณะหนึ่งก็สะเทือนอารมณ์ของผู้ฟังได้เช่นกันสาหรับวงออร์เคสตรามีการเพิ่มขนาดของ
วงให้ใหญ่ขึ้น เพื่อความสมบูรณ์แบบของเสียงในวงดนตรี ยุคนี้ทานองของบทเพลงเน้น
แนวทานองหลักและใช้การประสานเสียงเพื่อให้มีความไพเราะ บทเพลงที่นิยมในยุคนี้
คือ ดนตรีบรรยายเรื่องราว คีตกวีที่สาคัญในยุคนี้คือ เบโธเฟน
6. ยุคศตวรรษที่ 20 ค.ศ. 1900-ปัจจุบัน
ยุคนี้เป็นยุคเปลี่ยนแปลงดนตรีชาติตะวันตก มีการเน้นรูปแบบจังหวะมากขึ้น
และบันไดเสียงเริ่มมีการใช้บันไดเสียง 12 เสียง หลักการในการประพันธ์บทเพลง
มีความแตกต่างจากยุคก่อนนี้ เริ่มมีการประสานเสียงทาให้ฟังแล้วรู้สึกไม่สบายหู เริ่มมี
การทดลองทฤษฎีแปลก ๆ ใหม่ ๆ ซึ่งทาให้กฎเกณฑ์ทางดนตรีมีความหลากหลาย ถือได้
ว่ายุคนี้เป็นยุคการเปลี่ยนแปลง ซึ่งเป็นผลมาจากสภาพสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลง
มากมายตามที่ได้พบเห็นในปัจจุบัน
10
ขนบธรรมเนียมประเพณีของแต่ละชาติ ศาสนา โดยเฉพาะดนตรีตะวันตก นับว่า
มีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับศาสนามาก บทเพลงที่เกี่ยวกับศาสนาหรือเรียกว่าเพลงวัดนั้น
ได้แต่งขึ้นอย่างถูกหลักเกณฑ์ตามหลักวิชาการดนตรี ผู้แต่งเพลงวัดต้องมีความรู้
ความสามารถสูง เพราะต้องแต่งขึ้นให้สามารถโน้มน้าวจิตใจผู้ฟังให้นิยมเลื่อมใสใน
ศาสนามากขึ้น ดังนั้นบทเพลงสวดในศาสนาคริสต์จึงมีเสียงดนตรีประโคม
ประกอบการสวดมนต์ เมื่อมีบทเพลงเกี่ยวกับศาสนามากขึ้นเพื่อเป็นการป้องกันการลืม
จึงได้มีผู้ประดิษฐ์สัญลักษณ์ต่าง ๆ แทนทานอง เมื่อประมาณ ค.ศ. 1000 สัญลักษณ์
ดังกล่าว คือ ตัวโน้ต (Note) นั่นเอง โน้ตเพลงที่ใช้ในหลักวิชาดนตรีเบื้องต้นเป็นเสียงโด
เร มี นั้น เป็นคาสวดในภาษาละติน จึงกล่าวได้ว่าวิชาดนตรีมีจุดกาเนิดมาจากวัดหรือ
ศาสนา ซึ่งในยุโรปนั้นถือว่าเพลงเกี่ยวกับศาสนานั้นเป็นเพลงชั้นสูงสุด
11

More Related Content

Similar to ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล.pdf

ประวัติความเป็นมาของกีตาร์
ประวัติความเป็นมาของกีตาร์ประวัติความเป็นมาของกีตาร์
ประวัติความเป็นมาของกีตาร์kruood
 
ใบความรู้ นาฎศิลป์ไทย กศน.ม.ต้น
ใบความรู้ นาฎศิลป์ไทย กศน.ม.ต้นใบความรู้ นาฎศิลป์ไทย กศน.ม.ต้น
ใบความรู้ นาฎศิลป์ไทย กศน.ม.ต้นpeter dontoom
 
เอกสารสังคีตนิยม
เอกสารสังคีตนิยมเอกสารสังคีตนิยม
เอกสารสังคีตนิยมRuz' Glaow
 
บทที่ 2 ดนตรีกศน
บทที่ 2 ดนตรีกศนบทที่ 2 ดนตรีกศน
บทที่ 2 ดนตรีกศนpeter dontoom
 
Unit1 e0b980e0b8a7e0b8a5e0b8b2e0b981e0b8a5e0b8b0e0b8a2e0b8b8e0b884e0b8aae0b8a...
Unit1 e0b980e0b8a7e0b8a5e0b8b2e0b981e0b8a5e0b8b0e0b8a2e0b8b8e0b884e0b8aae0b8a...Unit1 e0b980e0b8a7e0b8a5e0b8b2e0b981e0b8a5e0b8b0e0b8a2e0b8b8e0b884e0b8aae0b8a...
Unit1 e0b980e0b8a7e0b8a5e0b8b2e0b981e0b8a5e0b8b0e0b8a2e0b8b8e0b884e0b8aae0b8a...krunrita
 
9789740328308
97897403283089789740328308
9789740328308CUPress
 
ใบความรู้ ดนตรีไทย กศน
ใบความรู้ ดนตรีไทย กศนใบความรู้ ดนตรีไทย กศน
ใบความรู้ ดนตรีไทย กศนpeter dontoom
 
ใบงานท 2
ใบงานท   2ใบงานท   2
ใบงานท 2bmbeam
 
ความหมายของเพลงกล่อมลูก
ความหมายของเพลงกล่อมลูกความหมายของเพลงกล่อมลูก
ความหมายของเพลงกล่อมลูกThassanee Buasri
 
ดนตรี ม.3
ดนตรี ม.3ดนตรี ม.3
ดนตรี ม.3Kruanchalee
 
ฐิติพร508 42 สถานที่ท่องเที่ยวกาญจนบุรี
ฐิติพร508 42 สถานที่ท่องเที่ยวกาญจนบุรีฐิติพร508 42 สถานที่ท่องเที่ยวกาญจนบุรี
ฐิติพร508 42 สถานที่ท่องเที่ยวกาญจนบุรีssusercee2be
 
แบบฝึกการเป่าโหวด
แบบฝึกการเป่าโหวดแบบฝึกการเป่าโหวด
แบบฝึกการเป่าโหวดbawtho
 
งานแสดงประวัติดนตรีศักดิ์สิทธิ์
งานแสดงประวัติดนตรีศักดิ์สิทธิ์งานแสดงประวัติดนตรีศักดิ์สิทธิ์
งานแสดงประวัติดนตรีศักดิ์สิทธิ์Bird Pongburut
 
ดนตรีพื้นบ้าน
ดนตรีพื้นบ้านดนตรีพื้นบ้าน
ดนตรีพื้นบ้านJakkrit Supokam
 
ความหมายของเครื่องดนตรี
ความหมายของเครื่องดนตรีความหมายของเครื่องดนตรี
ความหมายของเครื่องดนตรีleemeanxun
 

Similar to ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล.pdf (20)

Generation
GenerationGeneration
Generation
 
ประวัติความเป็นมาของกีตาร์
ประวัติความเป็นมาของกีตาร์ประวัติความเป็นมาของกีตาร์
ประวัติความเป็นมาของกีตาร์
 
นายเอื้อ สุนทรสนาน
นายเอื้อ สุนทรสนานนายเอื้อ สุนทรสนาน
นายเอื้อ สุนทรสนาน
 
ใบความรู้ นาฎศิลป์ไทย กศน.ม.ต้น
ใบความรู้ นาฎศิลป์ไทย กศน.ม.ต้นใบความรู้ นาฎศิลป์ไทย กศน.ม.ต้น
ใบความรู้ นาฎศิลป์ไทย กศน.ม.ต้น
 
เอกสารสังคีตนิยม
เอกสารสังคีตนิยมเอกสารสังคีตนิยม
เอกสารสังคีตนิยม
 
บทที่ 2 ดนตรีกศน
บทที่ 2 ดนตรีกศนบทที่ 2 ดนตรีกศน
บทที่ 2 ดนตรีกศน
 
Unit1 e0b980e0b8a7e0b8a5e0b8b2e0b981e0b8a5e0b8b0e0b8a2e0b8b8e0b884e0b8aae0b8a...
Unit1 e0b980e0b8a7e0b8a5e0b8b2e0b981e0b8a5e0b8b0e0b8a2e0b8b8e0b884e0b8aae0b8a...Unit1 e0b980e0b8a7e0b8a5e0b8b2e0b981e0b8a5e0b8b0e0b8a2e0b8b8e0b884e0b8aae0b8a...
Unit1 e0b980e0b8a7e0b8a5e0b8b2e0b981e0b8a5e0b8b0e0b8a2e0b8b8e0b884e0b8aae0b8a...
 
9789740328308
97897403283089789740328308
9789740328308
 
ยุคสมัยของดนตรีไทย
ยุคสมัยของดนตรีไทยยุคสมัยของดนตรีไทย
ยุคสมัยของดนตรีไทย
 
ใบความรู้ ดนตรีไทย กศน
ใบความรู้ ดนตรีไทย กศนใบความรู้ ดนตรีไทย กศน
ใบความรู้ ดนตรีไทย กศน
 
ใบงานท 2
ใบงานท   2ใบงานท   2
ใบงานท 2
 
ความหมายของเพลงกล่อมลูก
ความหมายของเพลงกล่อมลูกความหมายของเพลงกล่อมลูก
ความหมายของเพลงกล่อมลูก
 
หมอลำ
หมอลำหมอลำ
หมอลำ
 
ดนตรี ม.3
ดนตรี ม.3ดนตรี ม.3
ดนตรี ม.3
 
ฐิติพร508 42 สถานที่ท่องเที่ยวกาญจนบุรี
ฐิติพร508 42 สถานที่ท่องเที่ยวกาญจนบุรีฐิติพร508 42 สถานที่ท่องเที่ยวกาญจนบุรี
ฐิติพร508 42 สถานที่ท่องเที่ยวกาญจนบุรี
 
แบบฝึกการเป่าโหวด
แบบฝึกการเป่าโหวดแบบฝึกการเป่าโหวด
แบบฝึกการเป่าโหวด
 
งานแสดงประวัติดนตรีศักดิ์สิทธิ์
งานแสดงประวัติดนตรีศักดิ์สิทธิ์งานแสดงประวัติดนตรีศักดิ์สิทธิ์
งานแสดงประวัติดนตรีศักดิ์สิทธิ์
 
พระเจนดุริยางค์
พระเจนดุริยางค์พระเจนดุริยางค์
พระเจนดุริยางค์
 
ดนตรีพื้นบ้าน
ดนตรีพื้นบ้านดนตรีพื้นบ้าน
ดนตรีพื้นบ้าน
 
ความหมายของเครื่องดนตรี
ความหมายของเครื่องดนตรีความหมายของเครื่องดนตรี
ความหมายของเครื่องดนตรี
 

More from pinglada

ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับทวีปยุโรป.doc
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับทวีปยุโรป.docความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับทวีปยุโรป.doc
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับทวีปยุโรป.docpinglada
 
ประชาคมอาเซียน.docx
ประชาคมอาเซียน.docxประชาคมอาเซียน.docx
ประชาคมอาเซียน.docxpinglada
 
ประเทศในโลก.docx
ประเทศในโลก.docxประเทศในโลก.docx
ประเทศในโลก.docxpinglada
 
คีตกวีเอกของโลก.pdf
คีตกวีเอกของโลก.pdfคีตกวีเอกของโลก.pdf
คีตกวีเอกของโลก.pdfpinglada
 
คีตกวีเอกของไทย.pdf
คีตกวีเอกของไทย.pdfคีตกวีเอกของไทย.pdf
คีตกวีเอกของไทย.pdfpinglada
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล.pdfใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล.pdfpinglada
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก.pdfใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก.pdfpinglada
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 6 เรื่อง การดูแลรักษาเครื่องดนตรี.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 6 เรื่อง การดูแลรักษาเครื่องดนตรี.pdfใบความรู้ที่ 1 บทที่ 6 เรื่อง การดูแลรักษาเครื่องดนตรี.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 6 เรื่อง การดูแลรักษาเครื่องดนตรี.pdfpinglada
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล.pdfใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล.pdfpinglada
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ.pdfใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ.pdfpinglada
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล.pdfใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล.pdfpinglada
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากล.pdfใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากล.pdfpinglada
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล.pdfใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล.pdfpinglada
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 2 เรื่่อง องค์ประกอบดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 2 เรื่่อง องค์ประกอบดนตรีสากล.pdfใบความรู้ที่ 1 บทที่ 2 เรื่่อง องค์ประกอบดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 2 เรื่่อง องค์ประกอบดนตรีสากล.pdfpinglada
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล.pdfใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล.pdfpinglada
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล.pdfใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล.pdfpinglada
 
ThaiMusic8.doc
ThaiMusic8.docThaiMusic8.doc
ThaiMusic8.docpinglada
 
ThaiMusic5.doc
ThaiMusic5.docThaiMusic5.doc
ThaiMusic5.docpinglada
 
ThaiMusic10.doc
ThaiMusic10.docThaiMusic10.doc
ThaiMusic10.docpinglada
 
ThaiMusic11.doc
ThaiMusic11.docThaiMusic11.doc
ThaiMusic11.docpinglada
 

More from pinglada (20)

ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับทวีปยุโรป.doc
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับทวีปยุโรป.docความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับทวีปยุโรป.doc
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับทวีปยุโรป.doc
 
ประชาคมอาเซียน.docx
ประชาคมอาเซียน.docxประชาคมอาเซียน.docx
ประชาคมอาเซียน.docx
 
ประเทศในโลก.docx
ประเทศในโลก.docxประเทศในโลก.docx
ประเทศในโลก.docx
 
คีตกวีเอกของโลก.pdf
คีตกวีเอกของโลก.pdfคีตกวีเอกของโลก.pdf
คีตกวีเอกของโลก.pdf
 
คีตกวีเอกของไทย.pdf
คีตกวีเอกของไทย.pdfคีตกวีเอกของไทย.pdf
คีตกวีเอกของไทย.pdf
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล.pdfใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล.pdf
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก.pdfใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก.pdf
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 6 เรื่อง การดูแลรักษาเครื่องดนตรี.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 6 เรื่อง การดูแลรักษาเครื่องดนตรี.pdfใบความรู้ที่ 1 บทที่ 6 เรื่อง การดูแลรักษาเครื่องดนตรี.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 6 เรื่อง การดูแลรักษาเครื่องดนตรี.pdf
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล.pdfใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล.pdf
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ.pdfใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ.pdf
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล.pdfใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล.pdf
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากล.pdfใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากล.pdf
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล.pdfใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล.pdf
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 2 เรื่่อง องค์ประกอบดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 2 เรื่่อง องค์ประกอบดนตรีสากล.pdfใบความรู้ที่ 1 บทที่ 2 เรื่่อง องค์ประกอบดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 2 เรื่่อง องค์ประกอบดนตรีสากล.pdf
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล.pdfใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล.pdf
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล.pdfใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล.pdf
 
ThaiMusic8.doc
ThaiMusic8.docThaiMusic8.doc
ThaiMusic8.doc
 
ThaiMusic5.doc
ThaiMusic5.docThaiMusic5.doc
ThaiMusic5.doc
 
ThaiMusic10.doc
ThaiMusic10.docThaiMusic10.doc
ThaiMusic10.doc
 
ThaiMusic11.doc
ThaiMusic11.docThaiMusic11.doc
ThaiMusic11.doc
 

ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล.pdf

  • 1. บทที่ 1 ประวัติของดนตรีสากล การสืบสาวเรื่องราวเกี่ยวกับความเป็นมาของดนตรีตั้งแต่สมัยโบราณมา นับว่าเป็นเรื่องยากที่จะให้ได้เรื่องราว สมัยของการรู้จักใช้อักษรหรือสัญลักษณ์อื่น ๆ พึ่ง จะมีปรากฏและเริ่มนิยมใช้กันในสมัยเริ่มต้นของยุค Middle age คือระหว่างศตวรรษที่ 5-6 และการบันทึกมีเพียงเครื่องหมายแสดงเพียงระดับของเสียง และจังหวะ (Pitch and Time) ดนตรีเกิดขึ้นมาในโลกพร้อม ๆ กับมนุษย์เรานั่นเอง ในยุคแรก ๆ มนุษย์อาศัยอยู่ในป่าดง ในถ้า ในโพรงไม้ แต่ก็รู้จักการร้องราทาเพลงตาม ธรรมชาติ เช่นรู้จักปรบมือ เคาะหิน เคาะไม้เป่าปาก เป่าเขา และเปล่งเสียงร้องตาม เรื่อง การร้องราทาเพลงทาไปเพื่ออ้อนวอนพระเจ้าเพื่อช่วยให้ตนพ้นภัยบันดาลความสุข ความอุดมสมบูรณ์ต่าง ๆ ให้แก่ตนหรือเป็นการบูชาแสดงความขอบคุณพระเจ้าที่บันดาล ให้ตนมีความสุขความสบาย โลกได้ผ่านหลายยุคหลายสมัย ดนตรีได้วิวัฒนาการไปตามความเจริญและ ความคิดสร้างสรรค์ของมนุษย์ เครื่องดนตรีที่เคยใช้ในสมัยเริ่มแรกก็มีการวิวัฒนาการ มาเป็นขั้น ๆ กลายเป็นเครื่องดนตรีที่เราเห็นอยู่ทุกวัน เพลงที่ร้องเพื่ออ้อนวอนพระ เจ้า ก็กลายมาเป็นเพลงสวดทางศาสนาและเพลงร้อง ในระยะแรกดนตรีมีเพียงเสียง เดียวและแนวเดียวเท่านั้นเรียกว่า Melody ไม่มีการประสานเสียง จนถึงศตวรรษที่ 12 มนุษย์เราเริ่มรู้จักการใช้เสียงต่าง ๆ มาประสานกันอย่างง่าย ๆ เกิดเป็นดนตรีหลาย เสียงขึ้นมา  6
  • 2. ดนตรีสากล มีประวัติความเป็นมาและ วิวัฒนาการที่ยาวนาน แสดงถึงความ เจริญรุ่งเรืองทาง วัฒนธรรมของชาติ ตะวันตกซึ่งเป็นที่นิยมและยอมรับกันทั่วโลก ใน การศึกษาดนตรีสากล เพื่อความรู้ ความ เข้าใจ และความซาบซึ้งในดนตรีตะวันตก จึง จาเป็นจะต้องศึกษาวิวัฒนาการของดนตรี สากลในด้านต่าง ๆ ดังนี้ 1. ยุคกลาง (Middle Age) ค.ศ.500-1400 บทเพลงส่วนใหญ่เป็นเพลงร้องที่ใช้ในโบสถ์เพื่อสรรเสริญพระเจ้า เพียงอย่างเดียว โดยบางครั้งอาจเป็นการร้องสอดประสานกันบ้างประมาณ 2-3 แนว ใน ปลายยุค และยังไม่พบการบรรเลงที่เป็นรูปแบบมาตรฐานอย่างเด่นชัด 2. ยุคเรอเนสซองซ์หรือยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance) ค.ศ.1400-1600 บทเพลงในยุคนี้เริ่มมีการผสมผสานระหว่างเพลงพื้นฐานกับเพลงที่ใช้ใน โบสถ์โดยการนาเอาเทคนิคการประพันธ์เพลงพื้นบ้านมาประยุกต์ใช้กับเพลงสวด ทา ให้เกิดการนาเอาเครื่องดนตรีบางชนิดเข้ามาประกอบในเพลงสวดที่ใช้ในพิธีกรรมต่าง ๆ เช่น ออร์แกน ฮาร์ฟซิคอร์ด เป็นต้น 3. ยุคบาโรก (Baroque) ค.ศ.1600-1750 เครื่องดนตรีได้รับการพัฒนาจึงทาให้นักดนตรีมีความสามารถในการบรรเลง อย่างมาก จึงทาให้ยุคนี้มีประเภทการบรรเลงดนตรีที่หลากหลายมากขึ้น เช่น โซนาตา คอนแชร์โต โอเปรา เป็นต้น เริ่มมีการผสมวงออร์เคสตรา เพื่อใช้ประกอบการแสดง ละครเพลงหรือโอเปรา (Opera) แต่ลักษณะการผสมวงของเครื่องดนตรียังไม่มี การกาหนดที่แน่นอน นอกจากนี้เครื่องดนตรีประเภทเครื่องสายยังได้รับการพัฒนาอย่าง มาก 7
  • 3. 4. ยุคคลาสสิก (The Classical Era) ค.ศ. 1750-1820 เครื่องดนตรีมีวิวัฒนาการมาจนสมบูรณ์ที่สุด เริ่มมีการผสมวงที่กาหนด แน่นอนว่าเป็นวงเล็กหรือใหญ่ คือ วงแชมเบอร์มิวสิก และวงออร์เคสตราในการจัดวง ออร์เคสตราใช้เครื่องดนตรีครบทุกประเภท คือ เครื่องสาย เครื่องเป่าลมไม้เครื่องเป่าลม ทองเหลือง และเครื่องตี วงออร์เคสตรา ในยุคนี้ถือได้ว่ามีรูปแบบที่ใช้เป็นแบบแผนมา จนถึงปัจจุบัน 5. ยุคโรแมนติก (The Romantic Era) ค.ศ. 1820-1900 ในยุคนี้ เปียโนเป็นเครื่องดนตรีที่ได้รับ การพัฒนารูปร่างจนสามารถบรรเลงด้วยวิธีการ และเทคนิคต่าง ๆ ที่หลากหลายได้เป็นอย่างดี ในส่วนของการผสมวงออร์เคสตรา ยังคงใช้ หลักการผสมวงออร์เคสตราตามยุคคลาสสิก และ เพิ่มขนาดโดยการเพิ่มจานวนเครื่องดนตรีให้มี ความยิ่งใหญ่ขึ้น เพื่อให้อารมณ์ของบทเพลง มีความหลากหลายและสามารถสื่อถึงผู้ฟังได้อย่างเด่นชัด 6. ยุคศตวรรษที่ 20 ค.ศ.1900-ปัจจุบัน รูปแบบดนตรีมีการผสมผสานรูปแบบใหม่ขึ้น ซึ่งมีการนาเสียงจากเครื่อง อิเล็กทรอนิกส์มาใช้เป็นเครื่องดนตรีด้วย ส่วนดนตรีในรูปแบบดนตรีคลาสสิกก็ยังคงใช้ รูปแบบการผสมวงตามยุคคลาสสิก ซึ่งไม่มีการเปลี่ยนแปลงแต่จะเน้นที่รูปแบบ การประพันธ์เพลงมากกว่า และในยุคนี้เริ่มมีวงดนตรีผสมผสานรูปแบบใหม่ซึ่งเป็น รูปแบบวงดนตรีที่ผสมผสานระหว่าง แอฟริกาตะวันตก อเมริกาและยุโรป ที่เรียกว่าวง ดนตรีแจ๊ส (Jazz) เครื่องดนตรีที่ใช้ในวงมักประกอบด้วย ทรัมเป็ต คลาริเน็ต ทรอมโบน ทูบา และกลองประเภทต่าง ๆ เป็นต้น 8
  • 4. บทเพลงสากลในยุคต่าง ๆ 1. ยุคกลาง (Middle Age) ค.ศ. 500-1400 บทเพลงที่ปรากฏในยุคนี้ คือ เพลงสวด (Chant) ซึ่งเป็นบทเพลงที่ใช้ใน พิธีกรรม เป็นบทเพลงศักดิ์สิทธิ์ใช้เป็นสื่อกลางในการติดต่อกับพระผู้เป็นเจ้า เนื้อหาของ เพลงจะเป็นการสวดอ้อนวอนต่อพระผู้เป็นเจ้า ภาษาที่ใช้ในบทเพลงร้องส่วนใหญ่ คือ ภาษาละติน ในระยะแรก เพลงสวดเป็นการร้องแนวเดียวไม่มีดนตรีประกอบไม่มีอัตรา จังหวะและจะใช้เสียงเอื้อนในการทาทานองไปไม่มีกาหนดกฎเกณฑ์ที่ตายตัว ต่อมา ในระยะหลัง ๆ เริ่มพัฒนาการร้องให้มีแนวการร้องสองประสาน เป็นเพลงร้องสองแนว และเริ่มที่จะมีอัตราจังหวะที่แน่นอน จนกลายเป็นรูปแบบการร้องประสานเสียง ที่มากกว่า 2 แนวขึ้นไป 2. ยุคเรอเนสซองซ์หรือยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)ค.ศ.1400-1600 ดนตรียังคงเป็นลักษณะสอดประสานทานองโดยมีการล้อกันของแนวทานอง ที่เหมือนกันรูปแบบการประพันธ์เพลงมีมากขึ้น ในยุคนี้ยังเน้นการร้องเป็นพิเศษสาหรับ ดนตรีคฤหัสถ์(ดนตรีประชาชนทั่วไป) เริ่มมีการบันทึกเป็นลายลักษณ์อักษร ซึ่งมักเป็น เพลงร้องประกอบดนตรี 3. ยุคบาโรก (Baroque) ค.ศ. 1600-1750 บทเพลงบรรเลงมีความสาคัญเทียบเท่ากับบทเพลงร้อง เนื่องจากเครื่องดนตรี มีการพัฒนาทั้งรูปแบบและเสียง รูปแบบการประพันธ์เพลงในยุคนี้มีการพัฒนาและ ปรับปรุงจนมีลักษณะเด่นชัด โดยเฉพาะคอนแชร์โต (Concerto) ตัวบทเพลงประชัน ระหว่างเครื่องดนตรีประเภทเดี่ยวกับวงดนตรี ซึ่งแสดงความสามารถของผู้บรรเลงได้ เป็นอย่างดี บทเพลง Concerto ที่ได้รับความนิยมคือ The Four Season ของ วิวัลดี และยุค นี้เป็นจุดเริ่มต้นของบทเพลงบรรเลงประเภทต่าง ๆ 9
  • 5. 4. ยุคคลาสสิก (The Classic Era) ค.ศ. 1750-1820 เป็นยุคที่สาคัญมากของดนตรีตะวันตก เนื่องจากรูปแบบต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็น การประพันธ์เพลง การผสมวง หรือบทเพลงบรรเลงมีความเป็นแบบแผนอย่างมาก รูปแบบการประพันธ์บทเพลงในยุคนี้ได้แก่ โซนาตา คอนแชร์โต ซิมโฟนี และการ ผสมวงได้แก่ วงแชมเบอร์มิวสิกและออร์เคสตรา ทุกอย่างล้วนจัดให้มีมาตรฐานทั้งสิ้น นอกจากนี้ ละครร้องหรือโอเปรา (Opera) ก็ได้รับการพัฒนาจนได้รับความนิยมทั่วไป 5. ยุคโรแมนติก (The Romantic Era) ค.ศ. 1820-1900 ยุคนี้เป็นยุคที่นาหลักการของยุคคลาสสิกมาใช้ผสมผสานกับการใส่อารมณ์ ความรู้สึกเข้าไปในบทเพลงทาให้บทเพลงมีความไพเราะ สง่างาม อ่อนหวานใน ขณะหนึ่งก็สะเทือนอารมณ์ของผู้ฟังได้เช่นกันสาหรับวงออร์เคสตรามีการเพิ่มขนาดของ วงให้ใหญ่ขึ้น เพื่อความสมบูรณ์แบบของเสียงในวงดนตรี ยุคนี้ทานองของบทเพลงเน้น แนวทานองหลักและใช้การประสานเสียงเพื่อให้มีความไพเราะ บทเพลงที่นิยมในยุคนี้ คือ ดนตรีบรรยายเรื่องราว คีตกวีที่สาคัญในยุคนี้คือ เบโธเฟน 6. ยุคศตวรรษที่ 20 ค.ศ. 1900-ปัจจุบัน ยุคนี้เป็นยุคเปลี่ยนแปลงดนตรีชาติตะวันตก มีการเน้นรูปแบบจังหวะมากขึ้น และบันไดเสียงเริ่มมีการใช้บันไดเสียง 12 เสียง หลักการในการประพันธ์บทเพลง มีความแตกต่างจากยุคก่อนนี้ เริ่มมีการประสานเสียงทาให้ฟังแล้วรู้สึกไม่สบายหู เริ่มมี การทดลองทฤษฎีแปลก ๆ ใหม่ ๆ ซึ่งทาให้กฎเกณฑ์ทางดนตรีมีความหลากหลาย ถือได้ ว่ายุคนี้เป็นยุคการเปลี่ยนแปลง ซึ่งเป็นผลมาจากสภาพสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลง มากมายตามที่ได้พบเห็นในปัจจุบัน 10
  • 6. ขนบธรรมเนียมประเพณีของแต่ละชาติ ศาสนา โดยเฉพาะดนตรีตะวันตก นับว่า มีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับศาสนามาก บทเพลงที่เกี่ยวกับศาสนาหรือเรียกว่าเพลงวัดนั้น ได้แต่งขึ้นอย่างถูกหลักเกณฑ์ตามหลักวิชาการดนตรี ผู้แต่งเพลงวัดต้องมีความรู้ ความสามารถสูง เพราะต้องแต่งขึ้นให้สามารถโน้มน้าวจิตใจผู้ฟังให้นิยมเลื่อมใสใน ศาสนามากขึ้น ดังนั้นบทเพลงสวดในศาสนาคริสต์จึงมีเสียงดนตรีประโคม ประกอบการสวดมนต์ เมื่อมีบทเพลงเกี่ยวกับศาสนามากขึ้นเพื่อเป็นการป้องกันการลืม จึงได้มีผู้ประดิษฐ์สัญลักษณ์ต่าง ๆ แทนทานอง เมื่อประมาณ ค.ศ. 1000 สัญลักษณ์ ดังกล่าว คือ ตัวโน้ต (Note) นั่นเอง โน้ตเพลงที่ใช้ในหลักวิชาดนตรีเบื้องต้นเป็นเสียงโด เร มี นั้น เป็นคาสวดในภาษาละติน จึงกล่าวได้ว่าวิชาดนตรีมีจุดกาเนิดมาจากวัดหรือ ศาสนา ซึ่งในยุโรปนั้นถือว่าเพลงเกี่ยวกับศาสนานั้นเป็นเพลงชั้นสูงสุด 11