SlideShare a Scribd company logo
1 of 114
Download to read offline
การจัดการต้นทุนรวมสาหรับการขนส่ง และ
เทคโนโลยีหรือเครื่องมือดิจิตอลเพื่อเพิ่ม
ประสิทธิผลของการทาธุรกิจ
วศ.สิริพงศ์ จึงถาวรรณ, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+
LEAN Master
บริษัท ทาน้อยได้มาก จากัด
www.LEANxACADEMY.com
Eng.Siripong Jungthawan
Eng.Siripong S Jungthawan,
MBA, BEng, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+
Partner and Workgroup,
Global Entrepreneurship Network (Thailand)
PhD (Logistics and Supply Chain Management)
Program Manager, International College, KMITL
Design · Learn · Grow · Mature
LEAN Master and Co-founder,
Doing Less Getting More
LEAN Mentor,
LEAN Startup Machine
LEAN Startup Thailand
Mentor and Jury Moderator,
Creative Business CUP (CBC)
Founder, LEANxACADEMY.com
Founder and Mentor, Samsen Startup Club (SSC)
Sub committee: Demand Planner,
Driving Logistics and Supply Chain Management Manpower
Office of the Education Council, Ministry of Education
2
LEAN Series : The Best Seller
Eng.Siripong Jungthawan
ลูกค้าของเรามากกว่า 350 บริษัท ทั้งในและต่างประเทศ
Copyright © 2015, all rights reserved.
Doing LESS Getting MORE (DLGM)
บจก. ทำน้อยได้มำก
Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+
M/L: 095-624-2449
3
Hi-technology
Food and Medicine Service and consumer
Public and Government unit Educational institution
Logistics & Distribution Expert
โซ่อุปทานจะมุ่งเน้นด้านใดในปี 2564
Supply Chain areas of focus 2021
• การวางแผนโซ่อุปทาน
• การจัดหาและจัดซื้อ
• นวัตกรรม
• โลจิสติกส์
• การจัดการคาสั่งซื้อ
• การพัฒนาผลิตภัณฑ์
• การผลิตสินค้า
Copyright © 2015, all rights reserved. Doing LESS
Getting MORE (DLGM) บจก. ทำน้อยได้มำก
Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+
M/L: 095-624-2449 4
แบบจาลองโซ่อุปทาน (3 สมาชิก 4 การไหล 6 กระบวนการ)
5
ผู้ผลิต/บริการ
(Manufacturer)
ผู้กระจายสินค้า
(Distributor)
ลูกค้า
(Customer)
การไหลของสารสนเทศ (Information flow)
ผู้กระจายสินค้า
ลูกค้า
ลูกค้า
ลูกค้า
การไหลของวัสดุ (Material flow)
การไหลของกระแสเงินสด (Cash flow)
การไหลของวัสดุย้อนกลับ (Reverse material flow)
ผู้จัดหาวัตถุดิบ ขั้นที่ 1
(Tier 1 Material
supplier)
ผู้จัดหาวัตถุดิบ ขั้นที่ 1
ผู้จัดหาวัตถุดิบ ขั้นที่ 1
ผู้จัดหาวัตถุดิบ ขั้นที่ 2
(Tier 2 Material
supplier)
ผู้จัดหาวัตถุดิบ ขั้นที่ 2
ผู้จัดหาวัตถุดิบ ขั้นที่ 2
ผู้จัดหาวัตถุดิบ ขั้นที่ 2
ผู้จัดหาวัตถุดิบ ขั้นที่ 2
ต้นน้า
(Upstream)
กลางน้า
(Midstream)
ปลายน้า
(Downstream)
วางแผน (Plan: P)
จัดหา (Source :S) ผลิต (Make: M) ส่งมอบ (Deliver :D)
ทาให้เกิด (Enable: E)
รับคืน (Return :R)
รับคืน (Return :R)
รับคืน (Return :R)
รับคืน (Return :R)
Copyright © 2015, all rights reserved.
Doing LESS Getting MORE (DLGM)
บจก. ทำน้อยได้มำก
Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+
M/L: 095-624-2449
ต้นทุนด้านโลจิสติกส์ (Logistics Cost)
• ต้นทุนการขนส่ง (Transportation cost)
• ต้นทุนค่าจัดเก็บสินค้าคงคลัง (Inventory carrying cost)
• เงินลงทุนในสินค้าคงคลัง (Capital cost for inventory investment) ดอกเบี้ยเงินกู้ 3-8%
• ต้นทุนบริการสินค้าคงคลัง (Inventory service cost) ขององค์กร หรือ เช่าคลังสินค้า
• ต้นทุนค่าพื้นที่จัดเก็บ (Inventory space cost) คลังสินค้าโรงงาน สาธารณะ คลังเช่า คลังเอกชน
คลังสินค้าทัณฑ์บน
• ต้นทุนความเสี่ยงของสินค้าคงคลัง (Inventory riks cost) หมดอายุ แตกหัก ถูกขโมย เคลื่อนย้าย
• ต้นทุนค่าบริหารโลจิสติกส์ (Administration cost) เจ้าหน้าที่สนับสนุน เจ้าหน้าที่โลจิสติกส์
6
Copyright © 2015, all rights reserved.
Doing LESS Getting MORE (DLGM)
บจก. ทำน้อยได้มำก
Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+
M/L: 095-624-2449
Eng.Siripong Jungthawan
เป้าหมายยกระดับความพึงพอใจของลูกค้า
(Customer service goals)
ต้องกาหนดยุทธศาสตร์ทั้ง 3 เรื่องนี้ให้ดี
•สินค้าคงคลัง (Inventory)
•การขนส่ง (Transportation)
•เครือข่ายช่องทางการกระจายสินค้า
(Channel network)
•เพื่อจะเพิ่มระดับการให้บริการ
ลดต้นทุน ลดเงินลงทุนในแต่ละช่องทาง
ความพึง
พอใจ
สินค้าคง
คลัง
การขนส่ง
เครือข่าย
ช่องทาง
7
Copyright © 2015, all rights reserved.
Doing LESS Getting MORE (DLGM)
บจก. ทำน้อยได้มำก
Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+
M/L: 095-624-2449
Eng.Siripong Jungthawan
เป้าหมายยกระดับความพึงพอใจของลูกค้า
(Customer service goals)
ต้องตอบ 3 โจทย์ นี้
•ลดเงินลงทุนด้านสินทรัพย์
(Channel capital reduction)
•ลดต้นทุนในกิจกรรมต่างๆ
(Cost reduction)
•เพิ่มระดับการบริการ
(Service improvement)
เงิน
ลงทุน
ลด
ต้นทุน
ระดับ
บริการ
ความพึงพอใจ
8
Copyright © 2015, all rights reserved.
Doing LESS Getting MORE (DLGM)
บจก. ทำน้อยได้มำก
Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+
M/L: 095-624-2449
Eng.Siripong Jungthawan
การกาหนดกลยุทธ์โลจิสติกส์
ต้นทุนโลจิสติกส์รวม
(Total logistic
cost)
การกระจายที่แตกต่างกัน
(Differentiated
distribution)
การชะลอการผลิต
(Postponement)
การรวมสินค้า
(Consolidation)
มาตรฐาน
(Standardizatation)
9
Copyright © 2015, all rights reserved.
Doing LESS Getting MORE (DLGM)
บจก. ทำน้อยได้มำก
Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+
M/L: 095-624-2449
Eng.Siripong Jungthawan
มันจะเกิดอะไรขึ้นกับต้นทุนโลจิสติกส์ ถ้าตัดสินใจเพิ่มระดับในการบริการ
Question: What would happen to logistics costs if a
decision is made to increase service?
ค่าขนส่ง ค่าสินค้าคงคลัง และค่าสาธารณูปโภคต่างๆ จะเพิ่มขึ้น
Answer: Transportation, inventory, and facility costs will increase.
เครือข่ายช่องทางการกระจายสินค้า (Channel network)
•ระดับการบริการ ความต้องการเพิ่มระดับในการบริการ
•พื้นที่ทาเล การเคลื่อนย้ายสินทรัพย์ถาวร คลังสินค้าให้เหมาะสมกับอุปสงค์ อุปทาน
•ความยืดหยุ่น ปรับเปลี่ยนได้ตามความต้องการของลูกค้า
•การขยายธุรกิจ ขยายธุรกิจได้อย่างรวดเร็ว
•ความหลากหลายของสินค้าสร้างหรือหาสินค้าเข้ามาเพิ่มได้ง่ายขึ้น
•การกระจายอานาจ การควบคุมดูแล การจัดการด้านต้นทุน กิจกรรมต่างๆ
11
Copyright © 2015, all rights reserved.
Doing LESS Getting MORE (DLGM)
บจก. ทำน้อยได้มำก
Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+
M/L: 095-624-2449
สิ่งสาคัญในการออกแบบ
ระบบโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน
• สมาชิกในโซ่อุปทาน มีหน้าที่อะไรบ้าง
• ที่ตั้งสมาชิก ตาแหน่งที่ตั้งอยู่ที่ไหนบ้าง
• ความสามารถในการจัดเก็บ แต่ละจุดสามารถเก็บ
สินค้าคงคลังได้เท่าไร
• องค์กรสามารถจัดการ ควบคุมส่วนไหนได้บ้างใน
โซ่อุปทาน
12
Copyright © 2015, all rights reserved.
Doing LESS Getting MORE (DLGM)
บจก. ทำน้อยได้มำก
Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+
M/L: 095-624-2449
ระบบโซ่อุปทาน
และโลจิสติกส์
ขององค์กรคุณ
คือ รูปแบบใด?
13
I – P – O – C กระบวนการ
S – D – C ค้าส่ง
S – M – D – C ผลิตและจาหน่าย
S – S – M – D – C วัตถุดิบ/สินค้าและจาหน่าย
S – S – M – D – D – C ผลิต ค้าปลีก/ส่ง
Copyright © 2015, all rights reserved.
Doing LESS Getting MORE (DLGM)
บจก. ทำน้อยได้มำก
Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+
M/L: 095-624-2449
Eng.Siripong Jungthawan
ปัจจัยใน
การออกแบบ
โลจิสติกส์
ความสามารถใน
การแข่งขัน
ต้นทุนโลจิสติกส์ กฏหมายและ
ระเบียบข้อบังคับ
การเมืองและ
นโยบาย
สาธารณูปโภค
ขั้นพื้นฐาน
14
Copyright © 2015, all rights reserved.
Doing LESS Getting MORE (DLGM)
บจก. ทำน้อยได้มำก
Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+
M/L: 095-624-2449
Eng.Siripong Jungthawan
ระดับชั้นของช่องทางการกระจายสินค้า
ผู้ผลิต
คลังสินค้า
ศูนย์กระจายสินค้า ลูกค้า
คลังสินค้า ลูกค้า
ตัวกลาง ผู้ค้าปลีก ลูกค้า
ผู้ค้าส่ง ผู้ค้าปลีก ลูกค้า
แพลตฟอร์ม ลูกค้า
ช่องทางออนไลน์ ลูกค้า
ลองเขียนช่องทางขององค์กรของคุณ
ศูนย์กระจาย เอาของมาจัดส่งเลย
(Flow through)
คลังสินค้า เก็บของ รอส่งต่อ
(Keep)
15
Copyright © 2015, all rights reserved.
Doing LESS Getting MORE (DLGM)
บจก. ทำน้อยได้มำก
Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+
M/L: 095-624-2449
Eng.Siripong Jungthawan
แนวคิดต้นทุนในการออกแบบเครือข่ายช่องทางการกระจายสินค้า
(Channel Network Design Process)
• เป้าหมายสาคัญของการออกแบบช่องทางการกระจายสินค้า คือ
ตอบสนองต่อลูกค้าให้ได้มากที่สุด กาไรมากที่สุด โดยมีต้นทุนต่าที่สุด
(Goal of the channel network design process is to
maximize customer responsiveness while optimizing
company profits and lowering operations costs.)
• เส้นปะจะเป็นระยะเวลาในการตอบสนองลูกค้า (The dotted line
represents the customer response time)
• เส้นทึบคือต้นทุนรวมโลจิสติกส์ (The solid line represents the
total logistics cost (inventory, transportation, and
facilities).)
• เวลาในการตอบสนองไว จานวนคลังก็ต้องมากตาม ทาให้ต้นทุนโลจิ
สติกส์จะเพิ่มขึ้น (As the customer response time shortens
and the number of channel entities grows, total
logistics costs at first decrease but then increase as
they cross over response time.)
Source: Framework for Channel Network Design, Association for Supply Chain Management, 2022.
16
Copyright © 2015, all rights reserved.
Doing LESS Getting MORE (DLGM)
บจก. ทำน้อยได้มำก
Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+
M/L: 095-624-2449
4 ขั้นตอนในการออกแบบเครือข่ายช่องทางการกระจายสินค้า
รายละเอียดการ
ออกแบบ
เครือข่าย
01
การเลือก
แบบจาลอง
02
ออกแบบ
แบบจาลอง
03
นาไปใช้เพื่อ
ยืนยันผลลัพธ์
04
จากภาพใหญ่ไปเล็ก
ตรวจสอบข้อจากัดต่างๆ
นาข้อมูลทางสถิติมา
เปรียบเทียบ สร้างตาราง
เปรียบข้อดี ข้อเสีย
วางเครือข่ายตามแบบ
จาลอง เปรียบเทียบวิธี
การ จากข้อมูลจริงอีกครั้ง
นาข้อมูลเสนอผู้บริหาร
เพื่อนาไปใช้งานจริง
Copyright © 2015, all rights reserved.
Doing LESS Getting MORE (DLGM)
บจก. ทำน้อยได้มำก
Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+
M/L: 095-624-2449
5 สิ่งที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบเครือข่ายช่องทางการกระจายสินค้า
กลยุทธ์การ
แข่งขัน
ต้นทุนโลจิสติกส์ กฎระเบียบ
ข้อกาหนดต่างๆ
นโยบาย และ
การเมือง
สาธารณูปโภค
ขั้นพื้นฐาน
18
Copyright © 2015, all rights reserved.
Doing LESS Getting MORE (DLGM)
บจก. ทำน้อยได้มำก
Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+
M/L: 095-624-2449
การจัดการต้นทุนรวมสาหรับการขนส่ง
Copyright © 2015, all rights reserved. Doing LESS
Getting MORE (DLGM) บจก. ทำน้อยได้มำก
Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+
M/L: 095-624-2449 19
Eng.Siripong Jungthawan
การบริหารต้นทุนการขนส่ง
20
การหาต้นทุนแต่ละตัว และ
การวิเคราะห์งบการเงิน
ต้นทุน และกระแสเงินสด
(The Number)
การวิเคราะห์ค่าใช้จ่าย
(Spend Analysis)
การหาวิธีการและมาตรการใน
การลดต้นทุนและค่าใช้จ่าย
(Action Plan)
การสร้างกาไรเพิ่ม และ
การพัฒนาแบบจาลองธุรกิจใหม่ๆ
(Business Development)
Copyright © 2015, all rights reserved.
Doing LESS Getting MORE (DLGM)
บจก. ทำน้อยได้มำก
Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+
M/L: 095-624-2449
หน้าที่ผู้นาที่จะต้อง
วิเคราะห์และแปลงข้อมูล
• ปรับมันให้เข้ากับยุทธศาสตร์
• หาเทคโนโลยีที่เหมาะสมมาใช้
• ระบุเรื่อง ปัญหา และ
จัดลาดับ
• สร้างแผนการแปลงสภาพ
องค์กร
Copyright © 2015, all rights reserved. Doing LESS
Getting MORE (DLGM) บจก. ทำน้อยได้มำก
Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+
M/L: 095-624-2449 21
ต้นทุนรวมสาหรับการขนส่ง
(Total Cost of Ownership: TCO)
• ต้นทุนเริ่มต้น (Initial) ค่ารถบรรทุก
• ต้นทุนดาเนินการ (Operation)
• เงินเดือน และสวัสดิการ
(Salary, Incentive)
• ค่าเชื้อเพลิง (Fuel)
• ค่าทางพิเศษ (Tolls)
• ค่าปรับ (Penalty fee)
• ค่าโสหุ้ย (Overhead cost)
• ใบอนุญาต (License)
• ค่าบารุงรักษา (Maintenance & Repair)
• ยาง (Tyre)
• น้ามันเครื่อง (Engine Oil)
• การซ่อมใหญ่ (Overhaul)
• อื่นๆ (Etc.)
• ค่าประกันภัย (Insurance)
• ต้นทุนการเสียโอกาส (Opportunity)
• ค่าซาก (Salvage)
Copyright © 2015, all rights reserved. Doing LESS
Getting MORE (DLGM) บจก. ทำน้อยได้มำก
Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+
M/L: 095-624-2449 22
ที่มา ดัดแปลงจาก American Transportation Research Institute (ATRI), 2022
TCO = I1 + O1 + M + I2 + O2 - S
Eng.Siripong Jungthawan
8 ความสูญเปล่าในกิจกรรมโลจิสติกส์
• สินค้าคงคลัง (Inventory) ทุกประเภท เก็บเผื่อ ของขาด-เกิน ส่งผิด รุ่น ชนิด จานวน
• การขนส่ง (Transportation) การขับขี่ ลมยาง ล้อยาง น้ามันเครื่อง แรงม้า เที่ยว
เปล่า การเปลี่ยนโหมด Hub and Spoke, Nodes and Links, Milk Run,
Backhauling
• ระบบ (Systems) งานขั้นตอนต่างๆ การรอคอย ทาผิดพลาด เสียเวลา
• งานธุรการ (Administration) ทางานเอกสาร สาเนาเยอะ
• ลูกบาศก์ที่เก็บและขน (Cube) ขนอากาศ เรียงสินค้าไม่ดี เผื่อช่องเยอะ
• บรรจุภัณฑ์ (Packaging) ไม่เหมาะสม ไม่เอื้อต่อการจัดการ ซ้อนวาง
• เวลา (Time) การนัดหมาย ติดตามสถานะ การรอคอยขึ้นลงสินค้า
• ความรู้ (Knowledge) ความคิดสร้างสรรค์ ของคนงานที่ไม่ได้นามาใช้
Copyright © 2015, all rights reserved. Doing LESS
Getting MORE (DLGM) บจก. ทำน้อยได้มำก
วศ.สิริพงศ์จึงถำวรรณ, บธ.ม., วศ.บ., ACPE, CSCP, EPPM M/L: 095-624-2449 E:
L6SSCOR@GMAIL.COM 23
การวิเคราะห์เชื้อเพลิง
24
ประเภทของ
เชื้อเพลิง
(Fuel)
ชนิดของน้ามัน
(Type)
ค่าใช้จ่าย
เชื้อเพลิง
(บาท/กม.)
(กม./หน่วย)
(Unit cost)
ราคาซื้อ
(Price)
วิธีการจ่ายค่า
เชื้อเพลิง
(Finance)
แนวทางการลด
ค่าน้ามัน
(Action Plan)
Copyright © 2015, all rights reserved.
Doing LESS Getting MORE (DLGM)
บจก. ทำน้อยได้มำก
Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+
M/L: 095-624-2449
การวิเคราะห์เชื้อเพลิง
•ประเภทของเชื้อเพลง
• น้ามัน
• แก๊ส
• ผสม
• ไฟฟ้า
• อื่นๆ
25
Copyright © 2015, all rights reserved.
Doing LESS Getting MORE (DLGM)
บจก. ทำน้อยได้มำก
Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+
M/L: 095-624-2449
ต้นน้า กลางน้า ปลายน้า
•ซื้อจากปลายน้า
•ซื้อจากกลางน้า
•ซื้อจากต้นน้า
26
Copyright © 2015, all rights reserved.
Doing LESS Getting MORE (DLGM)
บจก. ทำน้อยได้มำก
Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+
M/L: 095-624-2449
27
Copyright © 2015, all rights reserved.
Doing LESS Getting MORE (DLGM)
บจก. ทำน้อยได้มำก
Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+
M/L: 095-624-2449
แบรนด์ปั้มน้ามัน
28
Copyright © 2015, all rights reserved.
Doing LESS Getting MORE (DLGM)
บจก. ทำน้อยได้มำก
Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+
M/L: 095-624-2449
Eng.Siripong Jungthawan
ส่วนประกอบ
ต้นทุนน้ามัน
•ต้นทุนน้ามัน
•ภาษีต่างๆ
•กองทุนต่างๆ
•ค่าการตลาด
29
Copyright © 2015, all rights reserved.
Doing LESS Getting MORE (DLGM)
บจก. ทำน้อยได้มำก
Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+
M/L: 095-624-2449
การวิเคราะห์น้ามัน
• ชนิดของน้ามัน
• เบนซิน
• 91
• 95
• V Power
• แก๊สโซฮอล์ (เบนซิน + เอทานอล)
• E10 (เอทานอล 10%)
• E20 (เอทานอล 20%)
• E85 (เอทานอล 85%)
• ดีเซล
• ไบโอดีเซล
• B7
• B10
• B20
30
Copyright © 2015, all rights reserved.
Doing LESS Getting MORE (DLGM)
บจก. ทำน้อยได้มำก
Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+
M/L: 095-624-2449
Eng.Siripong Jungthawan
ตัวอย่างโครงสร้างราคาน้ามันดีเซล
31
Copyright © 2015, all rights reserved.
Doing LESS Getting MORE (DLGM)
บจก. ทำน้อยได้มำก
Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+
M/L: 095-624-2449
Copyright © 2015, all rights reserved.
Doing LESS Getting MORE (DLGM)
บจก. ทำน้อยได้มำก
Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+
M/L: 095-624-2449
32
การวิเคราะห์แก๊ส
• แก๊ส LPG ก๊าซหุงต้ม
• จากกระบวนการแยกก๊าซธรรมชาติและขบวนการกลั่นน้ามัน
• เป็นสารประกอบพวกไฮโดรคาร์บอน ประกอบด้วยก๊าซโปรเปน และบิวเทนเป็นส่วนประกอบหลัก
• หนักกว่าอากาศประมาณ 1.5-2 เท่า ไม่มีสี ไม่มีกลิ่น ไม่เป็นพิษ
• แก๊ส NGV ก๊าซธรรมชาติ
• มีเทน เป็นส่วนประกอบหลักและถูกอัดจนมีความดันสูง ซึ่งถูกอัดที่แรงดัน 200 Bar หรือ 3000 PSI และถูกกักเก็บไว้ในถังบรรจุ
• ก๊าซธรรมชาติอัดที่ถูกผลิตขึ้นมาเป็นพิเศษให้สามารถรองรับแรงดันได้ โดยมีสภาพเป็นก๊าซหรือไอที่อุณหภูมิและความดัน
บรรยากาศ
• ค่าความถ่วงจาเพาะต่ากว่าอากาศ เบากว่าอากาศ
• เกิดการรั่วไหลจะฟุ้งกระจายไปตามบรรยากาศอย่างรวดเร็ว จึงมีการสะสมลุกไหม้บนพื้นราบ
33
Copyright © 2015, all rights reserved.
Doing LESS Getting MORE (DLGM)
บจก. ทำน้อยได้มำก
Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+
M/L: 095-624-2449
Eng.Siripong Jungthawan
การวิเคราะห์เชื้อเพลิง
•ค่าใช้จ่ายเชื้อเพลิง
(บาท/กม.) (กม./หน่วย)
•ค่ามาตรฐาน (S)
•ค่าเฉลี่ย (X)
•ค่าที่ดีที่สุด (B)
•ค่าเป้าหมาย (T)
•ส่วนต่าง
(กม./หน่วย, %)
Copyright © 2015, all rights reserved.
Doing LESS Getting MORE (DLGM)
บจก. ทำน้อยได้มำก
Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+
M/L: 095-624-2449
Eng.Siripong Jungthawan
การวิเคราะห์เชื้อเพลิง
•ราคาซื้อ
•ซื้อปลีก
•ซื้อส่ง (ลดได้ 20 – 50 สตางค์)
•ใช้บัตร Fleet card (ลดได้ 20 – 50 สตางค์)
•ทาปั้มของตนเอง (ลดได้ 1 – 4 บาท)
35
Copyright © 2015, all rights reserved.
Doing LESS Getting MORE (DLGM)
บจก. ทำน้อยได้มำก
Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+
M/L: 095-624-2449
บัตรเครดิตนิติบุคคล
(Fleet Card)
Copyright © 2015, all rights reserved. Doing LESS
Getting MORE (DLGM) บจก. ทำน้อยได้มำก
Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+
M/L: 095-624-2449 36
กาหนดชนิดน้ามัน สถานีเติมได้
ควบคุมค่าใช้จ่ายน้ามัน กาหนดวงเงินได้ 2 - 3 ล้าน
เสริมสภาพคล่องให้ธุรกิจ 30 – 60 วัน
โปร่งใส ตรวจสอบข้อมูลง่าย ผ่าน Website
ช่วยบริหาร เพิ่มประสิทธิภาพบิลข้อมูลถูกต้อง
ปลอดภัย เข้ารหัส ไม่ต้องพกเงินสด ลดโควิด
Eng.Siripong Jungthawan
Copyright © 2015, all rights reserved.
Doing LESS Getting MORE (DLGM)
บจก. ทำน้อยได้มำก
Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+
M/L: 095-624-2449
37
ค่าธรรมเนียม
• ฟรีค่าธรรมเนียมแรกเข้าและค่าธรรมเนียมรายปีปีแรก
• ค่าธรรมเนียมรายปีจานวน 300 บาท/บัตร/ปี
• ค่าธรรมเนียมในการออกบัตรทดแทน
• กรณีบัตรหาย หรือ บัตรชารุด จานวน 50 บาท/บัตร
• กรณีชาระคืนบัญชีบัตรเครดิตล่าช้า เสียดอกเบี้ยใน
อัตรา 16% ต่อปี
Copyright © 2015, all rights reserved. Doing LESS
Getting MORE (DLGM) บจก. ทำน้อยได้มำก
Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+
M/L: 095-624-2449 38
Eng.Siripong Jungthawan
คุณสมบัติผู้สมัครเบื้องต้น
• ผู้สมัครต้องเป็นนิติบุคคลเท่านั้นและดาเนินธุรกิจมาอย่างน้อย 2 ปี
• ไม่เคยเป็น NPL กับสถาบันการเงินใดๆในระยะ 1 ปีที่ผ่านมา นับจากวันที่ขอเครดิต และ
ไม่อยู่ระหว่างถูกฟ้อง ร้องดาเนินคดี
• มีกาไรจากการดาเนินงานในรอบบัญชี 2 ใน 3 ปีล่าสุดและรอบบัญชีล่าสุดโดยพิจารณา
จากงบที่สะท้อน ความเป็นจริง
• ส่วนของผู้ถือหุ้นเป็นบวก ธุรกิจมีกาไร (งบปีล่าสุด)
• ลูกค้าต้องไม่ผิดเงื่อนไขของธนาคารฯ หรืออยู่ระหว่างกระบวนการถูกลด/คงวงเงินรวม
• ธนาคารเป็นผู้กาหนดวงเงินรวม (Credit Line) ให้กับบริษัทโดยอยู่ในดุลยพินิจของ
ธนาคาร
Copyright © 2015, all rights reserved.
Doing LESS Getting MORE (DLGM)
บจก. ทำน้อยได้มำก
Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+
M/L: 095-624-2449
39
การ
วิเคราะห์
เชื้อเพลิง
• การจ่ายค่าเชื้อเพลิง
• เงินสด
• เครดิต
• ส่วนลดต่างๆ
40
Copyright © 2015, all rights reserved.
Doing LESS Getting MORE (DLGM)
บจก. ทำน้อยได้มำก
Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+
M/L: 095-624-2449
Eng.Siripong Jungthawan
ส่วนลดจากบัตรเครดิต ได้เงินคืน ได้แต้ม ได้ของแถม
41
Copyright © 2015, all rights reserved.
Doing LESS Getting MORE (DLGM)
บจก. ทำน้อยได้มำก
Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+
M/L: 095-624-2449
เติมน้ามันผ่านบัตรเดรดิตดีอย่างไร
• บัตรเครดิตเติมน้ามันส่วนมาก ไม่ต้องใช้
คะแนนเพื่อขอเงินคืน
• สะดวกสบายแบบสังคมไร้เงินสด ปลอดโควิด
• ได้รับคะแนนสะสมเพิ่ม
• ได้เงินคืนรวดเร็ว
• เงื่อนไขไม่ยุ่งยากเมื่อเติมน้ามัน ได้รับเงินคืน
ทันทีอัตโนมัติ
• บางธนาคารไม่ต้องลงทะเบียนให้เสียเวลา
42
Copyright © 2015, all rights reserved.
Doing LESS Getting MORE (DLGM)
บจก. ทำน้อยได้มำก
Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+
M/L: 095-624-2449
เทคนิคการลดต้นทุนเชื้อเพลิง
Copyright © 2015, all rights reserved. Doing
LESS Getting MORE (DLGM) บจก. ทำน้อยได้มำก
Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+
M/L: 095-624-2449 43
แนวทางการลดค่าน้ามัน
เทคนิคการขับรถ (Eco-driving)
การซ่อมบารุงที่เหมาะสม
การลดแรงต้านด้วยอุปกรณ์ (Aerodynamics)
การใช้เทคโนโลยีต่างๆ (Technology)
Eng.Siripong Jungthawan
เทคนิคการขับรถ
เพื่อให้ประหยัด
(Eco-driving)
Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+ M/L: 095-624-2449
Copyright © 2015, all rights reserved. Doing LESS
Getting MORE (DLGM) บจก. ทำน้อยได้มำก 44
ที่มา Japan Environment Quarterly (JEQ), 10 Eco-Driving Tips, Ministry of the Environment, Government of Japan, 2014
• แรงม้าเครื่องยนต์
• น้าหนักที่เหมาะสม
• เชื้อเพลิงที่เหมาะสม
• ความเร็วที่เหมาะสม
• ยาง/ลมยางที่เหมาะสม
• การซ่อมบารุงที่เหมาะสม
แรงม้าที่เหมาะสมกับ
น้าหนักบรรทุก
กาลัง (แรงม้า) (Power (hp)) =
Weight (ton) x (10 ถึง 12)
• บรรทุกสินค้าหนัก 12 ตัน ควรใช้รถที่มีแรงม้า
• 12 x (10 ถึง 12) = 120 – 144 แรงม้า
• บรรทุกสินค้า 40 ตัน ควรใช้รถทีมีแรงม้า
• 40 x (10 ถึง 12) = 400 – 480 แรงม้า
Copyright © 2015, all rights reserved. Doing LESS
Getting MORE (DLGM) บจก. ทำน้อยได้มำก
Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+
M/L: 095-624-2449 45
Eng.Siripong Jungthawan
การซ่อมบารุง
•ยาง
•น้ามันเครื่อง
•เครื่องยนต์
•อื่นๆ
Copyright © 2015, all rights reserved. Doing LESS
Getting MORE (DLGM) บจก. ทำน้อยได้มำก
Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+
M/L: 095-624-2449 46
Eng.Siripong Jungthawan
ยาง
•แบรนด์
•ชนิดของยาง
•การเติมลมยาง (bar หรือ psi)
•อุปกรณ์ตรวจวัดลมยาง (TPMS)
•การหล่อดอกยาง
•การเปลี่ยนสลับยาง หน้า – หลัง
Copyright © 2015, all rights reserved. Doing LESS
Getting MORE (DLGM) บจก. ทำน้อยได้มำก
Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+
M/L: 095-624-2449 47
หน้าที่หลักของยางรถยนต์ 4 ประการ
รับน้าหนักรถและบรรทุก
ลดแรงกระแทกและ
สั่นสะเทือนจากพื้นถนน
ถ่ายทอดพลังงานขับเคลื่อน
ลงสู่พื้นถนน
รถเปลี่ยนทิศทางได้ตาม
ต้องการ
Copyright © 2015, all rights reserved. Doing LESS
Getting MORE (DLGM) บจก. ทำน้อยได้มำก
Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+
M/L: 095-624-2449 48
การดูสเปคยาง
195/65 R 15 91V แบบนี้จะเป็นยางรถยนต์นั่งทั่วไป
• ความหมายของเลข 195 คือ ความกว้างของยาง (มม.)
• 65 เป็นอัตราส่วนขนาดยาง (65%) ของความกว้างยาง
• ตัว R เป็นโครงสร้างยางแบบเรเดียล ( ถ้า – หมายถึงยางแบบผ้าใบ)
• เลข 15 เป็นเส้นผ่าศูนย์กลางกระทะล้อ (นิ้ว)
• 91 เป็นดัชนีในการรับน้าหนัก (615 กก./เส้น) และขีดจากัดความเร็ว
สูงสุดของยาง (แต่ละอักษรจะมีความเร็วแตกต่าง ซึ่ง V = ความเร็ว
สูงสุด 240 กม./ชม.)
Copyright © 2015, all rights reserved. Doing LESS
Getting MORE (DLGM) บจก. ทำน้อยได้มำก
Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+
M/L: 095-624-2449 49
Eng.Siripong Jungthawan
โครงสร้างยาง
• การผลิตยาง จะผลิตชิ้นส่วนแล้วนามารวมเป็นยางรถยนต์หนึ่งวง
• ผ่าแบบหน้าตัดออกมาดูจึงจะเห็น
• หน้ายางมีดอกยางแตกต่างกันไป
• แบบสมมาตร (Symmetrical) หน้ายางจะมีดอกยางที่เหมือนกัน แบบ
นี้จะทาให้รถมีความนุ่ม และสลับยางง่าย
• แบบไม่สมมาตร(Asymmetrical) ที่ดอกยางจะแตกต่างกัน เน้นการ
ขับขี่ประสิทธิภาพเฉพาะ และยึดเกาะถนนเหมาะกับการเข้าโค้ง
ความเร็วสูง
• แบบกาหนดทิศทางการหมุน (Uni-direction) ดอกยางจะมีลักษณะ
หมุนหรือชี้ไปทิศทางเดียวกัน ทาให้มีการรีดน้า ควบคุมการทรงดี และ
ขับขี่ความเร็วสูงได้ดี แต่จะยุ่งยากในการเปลี่ยน หรือสลับยาง ใส่ผิด
ทิศไม่ได้เพราะส่งผลต่อการขับขี่
Copyright © 2015, all rights reserved. Doing LESS
Getting MORE (DLGM) บจก. ทำน้อยได้มำก
Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+
M/L: 095-624-2449 50
ชนิดของยาง
ยางผ้าใบ (Bias Tire)
• นุ่มนวล การทรงตัวดี และทนทานต่อการสึกหรอ
ยางเรเดียล (Radial Tire)
• ให้ความนุ่มนวล ทรงตัวดี ทนต่อการสึกหรอสูง
และหยุดได้อย่างมั่นใจ (ประหยัดกว่ายางธรรมดา
ประมาณ 5 - 10%)
ยางผสมซิลิก้า (Silica Tire)
• เพิ่มสารซิลิก้าลดแรงต้านทาน ทาให้ประหยัด
น้ามัน 10 – 20%
Copyright © 2015, all rights reserved. Doing LESS
Getting MORE (DLGM) บจก. ทำน้อยได้มำก
Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+
M/L: 095-624-2449 51
Eng.Siripong Jungthawan
ที่มา โครงสร้างยางผ้าใบแบบ “ไม่ใช้ยางใน” และแบบ “ใช้ยางใน” www.popkn.com
ที่มา โครงสร้างยางผ้าใบแบบ “ไม่ใช้ยางใน” และแบบ “ใช้ยางใน” www.popkn.com
ยางซิลิคอน
ประหยัด
Eng.Siripong
Jungthawan,
ACPE,
CSCP,
EPPM,
QBAC+
M/L:
095-624-2449
Copyright © 2015, all rights reserved. Doing LESS
Getting MORE (DLGM) บจก. ทำน้อยได้มำก 54
แรงต้านลดลง
กินเนื้อยางน้อยลง
เชื้อเพลิงจากการออกแรงน้อยลง
เครื่องยนต์ทางานน้อยลง
เงิน ต้นทุนต่อกิโลเมตรต่าลง
ระยะเวลาคืนทุน
• ปกติ รถยนต์ ใช้ยางธรรมาดา 4 เส้น 8,000 บาท
• ถ้าใช้ยางประหยัดน้ามัน 12,000 บาท
ค่าใช้จ่ายที่เพิ่มขึ้น 12,000 – 8,000 = 4,000 บาท
ค่าใช้จ่ายที่ประหยัด
• น้ามันจาก 2.50 บาท/กิโลเมตร จะเหลือ 2.00
บาท บาท/กิโลเมตร
• 2.50 – 2.00 = 0.50 บาท หรือ 50 สตางค์ /
กิโลเมตร
• 4,000 / 0.50 = 8,000 กิโลเมตร
• ถ้ายางวิ่งได้ 50,000 กิโลเมตร
• 8,000 กิโลเมตรแรก ได้ค่ายางส่วนต่างที่แพงขึ้น
4,000 บาท คือ
• คงเหลือ 50,000 – 8,000 = 42,000 กม.
• ได้กาไรเพิ่ม 42,000 x 0.50 บาท = 21,000 บาท
• กาไรเพิ่มจากการลดการใช้น้ามัน 25,000 บาท
• ค่ายางที่จ่ายเพิ่ม 4,000 บาท
• กาไรเพิ่ม 21,000 บาท
• ถ้าวิ่งได้มากกว่านี้ก็ยิ่งคุ้ม ถ้าวิ่งได้ 100,000 กม. จะ
กาไรอีก 25,000 บาท
Copyright © 2015, all rights reserved.
Doing LESS Getting MORE (DLGM)
บจก. ทำน้อยได้มำก
Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+
M/L: 095-624-2449
55
80% ของผู้ขับขี่รถไม่รู้ว่าควรเติมลมยางเท่าไร
Copyright © 2015, all rights reserved. Doing LESS
Getting MORE (DLGM) บจก. ทำน้อยได้มำก
Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+
M/L: 095-624-2449 56
Eng.Siripong Jungthawan
การเติมลมยาง
Copyright © 2015, all rights reserved. Doing LESS
Getting MORE (DLGM) บจก. ทำน้อยได้มำก
Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+
M/L: 095-624-2449 57
มาตรวัดลมยาง
(Bar หรือ psi)
อุณหภูมิของยาง
(องศาเซลเซียส)
เต็มลมตอนยางเย็นตัว
เติมลมทุกล้อให้เท่ากัน/
ส่วนบรรทุกให้มากกว่า
เช็คลมยางทุกสัปดาห์
หรือติดเซนเซอร์
จุดที่แรงดันลมยางเกิด
การรั่วได้
•A ทะลุผ่านเนื้อยาง
•B ผ่านโครงสร้างยาง
•C จุกลมยาง
•D ขอบล้อกับตัวยาง
Copyright © 2015, all rights reserved. Doing LESS
Getting MORE (DLGM) บจก. ทำน้อยได้มำก
Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+
M/L: 095-624-2449 58
ที่มา Variation in inflation pressure, 2022
https://business.michelin.co.uk/help-advice/the-right-pressure
Eng.Siripong Jungthawan
เพิ่มความถี่ในการตรวจเช็คลมยางให้มากกว่าปกติ ในช่วง 3,000 กิโลเมตร
แรก เนื่องจากโครงสร้างยางในช่วงนี้จะมีการขยายตัว ทาให้ความดันลมยาง
ลดลง และเพื่อป้องกันลมรั่วซึมที่วาล์ว และแกนวาล์ว ทุกครั้งที่เปลี่ยนยาง
ใหม่และมีฝาปิดวาล์วตลอดเวลา
กรณียางใหม่
Copyright © 2015, all rights reserved. Doing LESS
Getting MORE (DLGM) บจก. ทำน้อยได้มำก
Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+
M/L: 095-624-2449 59
ประโยชน์ของลมยางที่เหมาะสม
Eng.Siripong
Jungthawan,
ACPE,
CSCP,
EPPM,
QBAC+
M/L:
095-624-2449
Copyright © 2015, all rights reserved. Doing LESS
Getting MORE (DLGM) บจก. ทำน้อยได้มำก 60
ปลอดภัย
(Safe)
ความเชื่อมั่นสูง
(Reliable)
ประหยัดเงิน
(Economical)
สะดวกสบาย
(Comfortable)
ยางเป็นจุดสัมผัสเดียวระหว่างรถกับถนน
Tires are the only point of contact between your vehicle and the road.
Copyright © 2015, all rights reserved. Doing LESS
Getting MORE (DLGM) บจก. ทำน้อยได้มำก
Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+
M/L: 095-624-2449 61
Eng.Siripong Jungthawan
ลมยางน้อย พอดี หรือมากเกินไป
Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+ M/L: 095-624-2449
• ลมยางน้อยหรืออ่อนเกินไป จะทาให้
ยางสึกบริเวณไหล่ยาง ทาให้โครงยาง
บริเวณแก้มยางฉีกขาดหรือหักได้ และมี
การสิ้นเปลืองน้ามันเชื้อเพลิง
• ลมยางมากไป จะทาให้เกิดการลื่นไถล
ได้ง่าย จากพื้นที่การเกาะถนนลดลง
โครงยางระเบิดได้ง่ายเมื่อเกิดการ
กระแทก หรือถูกตา จากการยึดหยุ่นได้
น้อย อายุยางลดลง และความนุ่มนวล
ในขณะขับขี่ลดลง โดยลักษณะยางจะ
สึกบริเวณกลางหน้ายาง
• ลมที่เหมาะสมหน้ายางจะมีการสึก
สม่าเสมอ แต่กรณีรถที่ขับระยะทางไกล
ด้วยความเร็วสูง ให้เติมลมยางมากกว่า
ปกติ 3-5 ปอนด์ เพื่อการคืนตัวของยาง
จะเร็วขึ้น และไม่เสียรูปทรงยาง ทาให้มี
อายุการใช้งานนานด้วย
Copyright © 2015, all rights reserved. Doing LESS Getting
MORE (DLGM) บจก. ทำน้อยได้มำก 62
อ่อน พอดี แข็ง
สึกชอบๆ สึกพอดี สึกตรงกลาง
ยางเส้นนี้ควรเติม
ลมยางเท่าไร ?
•ถามช่าง
•ดูตามคู่มือข้างรถ
•ถามเพื่อนๆ
•ดูหน้ายาง
Copyright © 2015, all rights reserved. Doing LESS
Getting MORE (DLGM) บจก. ทำน้อยได้มำก
Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+
M/L: 095-624-2449 63
ยางอ่อนทาให้กิน
น้ามันมากขึ้น
• ยางอ่อนกว่าที่กาหนด
22 psi กินน้ามันเพิ่ม 1 - 3%
• ตัวอย่าง ลมยาง 123 psi
เติมที่ 101 psi กินน้ามันเพิ่ม 1%
(ต่ากว่าที่กาหนด 18%)
Copyright © 2015, all rights reserved. Doing LESS
Getting MORE (DLGM) บจก. ทำน้อยได้มำก
Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+
M/L: 095-624-2449 64
ที่มา Impact of Tire Pressure on Fuel Consumption, 2022
business.michelinman.com/tips-suggestions/the-right-pressure
ผลกระทบของแรงดันลมยางต่อระยะทาง
ลมยางหายไป 22 psi ทาให้วิ่งได้ระยะทางน้อยลง 10%
Copyright © 2015, all rights reserved. Doing LESS
Getting MORE (DLGM) บจก. ทำน้อยได้มำก
Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+
M/L: 095-624-2449 65
ที่มา Impact of Tire Pressure on Mileage
business.michelinman.com/tips-suggestions/the-right-pressure
ยางอ่อนเกิน ยิ่งกินเนื้อยาง
และน้ามัน เพราะรับแรงต้าน
เยอะ โดนเต็มหน้า
Eng.Siripong Jungthawan
ต้องเติมลมยางเท่าไหร ?
Copyright © 2015, all rights reserved.
Doing LESS Getting MORE (DLGM)
บจก. ทำน้อยได้มำก
Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+
M/L: 095-624-2449
66
Eng.Siripong Jungthawan
123 psi
หลักการง่ายๆ ในการปรับเพิ่ม - ลดลมยาง
• โครงสร้างยางคงรูป แข็งแรง สามารถ
บรรทุกของหนักได้
• การขับขี่กระด้างกว่าลมยางอ่อน
• ความร้อนสะสมน้อย เหมาะวิ่งทางไกล
• ประหยัดน้ามัน
• วิ่งทางตรงทาความเร็วได้ง่ายกว่า
• ยางหมดช้ากว่า
• ทาการเซาะร่อง หล่อดอกยางได้ดีกว่า
ลมยางแข็ง
Copyright © 2015, all rights reserved.
Doing LESS Getting MORE (DLGM)
บจก. ทำน้อยได้มำก
Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+
M/L: 095-624-2449
67
• โครงสร้างยางห้อยตัวได้มากกว่า เพิ่มหน้าสัมผัส
ของยางกับพื้นถนน (เกาะถนนมากกว่า)
• นุ่มนวล
• ความร้อนสะสมมาก
• เปลืองน้ามันมากกว่าลมยางแข็ง
• เหมาะกับทางโค้งเลี้ยวเยอะ
• ยางหมดไวกว่า
ลมยางอ่อน
Copyright © 2015, all rights reserved.
Doing LESS Getting MORE (DLGM)
บจก. ทำน้อยได้มำก
Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+
M/L: 095-624-2449
68
ที่มา 4 ลักษณะยาง สึกหรอผิดปกติ, 2565
www.yellowtire.com
วิธีการแก้ไข ต้องหมั่นสังเกตยางๆ บ่อย
•สึกด้านเดียว - ศูนย์ล้อไม่ถูกต้อง ล้อเสียสมดุล ไม่ได้สลับล้อตามระยะที่กาหนด
•สึกที่ไหล่ยางสองข้าง - ลมยางมากเกินไป ประกอบยางเข้ากับกระทะล้อไม่ดี ไม่
สลับยางตามระยะ
•ตรงกลางสึกเยอะสุด - ลมยางน้อยเกินไป ประกอบยางเข้ากับกระทะล้อไม่ดี ไม่
สลับยางตามระยะ
•สึกเป็นคลื่นๆ เป็นจ้าๆ เป็นหลายๆ จุด รอบเส้น - รองรับน้าหนักไม่สมบูรณ์เต็ม
หน้า เพลาคด แบริ่งหลวม กะทะล้อเบี้ยว ไม่สลับยางตามระยะ
Copyright © 2015, all rights reserved.
Doing LESS Getting MORE (DLGM)
บจก. ทำน้อยได้มำก
Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+
M/L: 095-624-2449
69
ถ้าดอกยางสึกเพียงด้านเดียว ให้เช็ค Camber
• การสึกที่ขอบยางเพียงด้านใด อาจเกิดจากการปรับแต่งที่ผิดค่ามาตรฐานที่กาหนดไว้
• การโหลดเตี้ย หรือยกสูง ซึ่งการโหลดเตี้ยนั่นยางจะสึกขอบยางด้านในมากกว่าด้าน
นอก เนื่องมุมแคมเบอร์ของล้อมีองศาเปลี่ยนไป ทาให้ล้อแบะและยางด้านในจะถูกกด
ทับมากกว่าด้านนอก เป็นที่มาว่าทาไมขอบยางด้านในถึงมีการสึกมากกว่าส่วนอื่น
สามารถปรับแก้ได้โดยการติดตั้งปีกนกแบบปรับมุมแคมเบอร์ได้ หรือหากท่านไม่อยาก
ติดตั้งอุปกรณ์เสริมเพิ่มเติม
• สลับยางให้บ่อยขึ้น โดยสลับยางด้านในกลับมาไว้ด้านนอกกรณียางของท่านเป็นยาง
แบบไร้ทิศทางก็สามารถกลับหน้ายางได้เลย
• แต่หากยางของท่านเป็นยางแบบมีทิศทาง คือใช้วิ่งทางเดียว กรณีนี้จะไม่สามารถ
กลับหน้ายางได้ เนื่องจากยางถูกออกแบบมาให้ใช้ทิศทางที่กาหนดไว้ หากมีการกลับ
หน้ายางให้สวนทางกลับทิศทางของยาง อาจก่อให้เกิดเสียงรบกวน และยังลด
ประสิทธิภาพการทางานของยางลงจากที่ออกแบบไว้อีกด้วย ส่วนการยกสูงก็จะทาให้
ดอกยางสึกขอบยางด้านนอกนั่นเอง
Copyright © 2015, all rights reserved.
Doing LESS Getting MORE (DLGM)
บจก. ทำน้อยได้มำก
Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+
M/L: 095-624-2449
70
ถ้าดอกยางสึกไม่เท่ากัน ให้ตรวจสอบระบบช่วงล่าง
• ยางรถของท่านมีอาการดอกยางสึกไม่เท่ากัน ดอกยางสึกเป็นบั้ง
เว้นบั้น หรือสึกเป็นก้อนๆ ไม่สม่าเสมอ
• อาจไม่ได้เกิดจากคุณภาพของยางไม่ดีแต่อย่างใด
• ให้ตรวจสอบประสิทธิภาพการทางานของช่วงล่างรถ
• พบมากในรถที่ช่วงล่างเป็นปีกนก สาเหตุเกิดการเสื่อมของบูชปี
กนก ลูกหมาก ยางหุ้มบูชต่างๆ เสื่อมสภาพ ทาให้ปีกนกคลอน
ไม่แน่น
• เซ็นเตอร์ของมุมล้อขยับเมื่อเกิดการกระแทก ทาให้ยางกินดอก
ยางไม่สม่าเสมอขณะใช้งาน ลักษณดอกยางจึงมีการสึกเป็นบั้งได้
• อย่าลืมเช็คลูกปืนล้อว่ามีการชารุดหรือไม่ หากลูกปืนล้อชารูด
ส่งผลให้จังหวะการหมุนของล้อไม่เท่ากัน รวมไปถึงโช้คอัพ ก็ทา
ให้เกิดอาการดอกยางสึกไม่เท่ากันได้
Copyright © 2015, all rights reserved.
Doing LESS Getting MORE (DLGM)
บจก. ทำน้อยได้มำก
Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+
M/L: 095-624-2449
71
ที่มา สาเหตุที่ทาให้ดอกยางสึกไม่เท่ากัน tiretruckintertrade.blogspot.com/2014/09/blog-post.html
ยางระเบิด
• ถ้าเกิดยางระเบิด ให้ตั้งสติให้ดี จับพวงมาลัยให้มั่น แตะเบรก
เบาๆ ถี่ๆ ลดความเร็วลง ให้รถหยุดได้
• สาเหตุหลักที่ส่งผลให้รถยางระเบิด มีดังนี้
1. หมดอายุการใช้งาน สังเกต จาก ยางมีรอยแตก บวม ดอกยาง
เรียบ แบน
2. ใช้งานเกินความสามารถ ยางแต่ละเส้นเมื่อใช้ไปนานๆ
ความสามารถก็จะลดลงไปตามกาลเวลา ควรเช็กพิกัดความเร็ว
สูงสุดของยางรถยนต์
3. เลือกขนาดยางไม่เหมาะสมกับล้อ
4. ยางรถยนต์ร้อนจัด สาเหตุจากการสูบลมยางอ่อนแล้ววิ่งทางไกล
ทาให้เกิดความร้อนสะสม ส่งผลให้ยางยุบตัวและเสียรูป
5. เติมลมยางไม่ถูกต้อง เป็นข้อที่ต่อเนื่องจากข้อ 4 หากผู้ใช้งานเติม
ความดันลมยางอ่อนหรือแข็งเกินไป ประสิทธิภาพก็จะลงลง
6. แก้มยางเสียดสีกับขอบถนน
Copyright © 2015, all rights reserved.
Doing LESS Getting MORE (DLGM)
บจก. ทำน้อยได้มำก
Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+
M/L: 095-624-2449
72
สลับยางรถยนต์
• รถทั่วไปควรสลับยางทุกๆ
10,000 กิโลเมตร
• รถขับเคลื่อนสี่ล้อให้สลับ
ยางทุกๆ 5,000 กิโลเมตร
• รถแต่ละประเภทจะมีการ
สึกหรอแตกต่างกัน ขึ้นอยู่
กับการใช้งานด้วย
Copyright © 2015, all rights reserved. Doing LESS
Getting MORE (DLGM) บจก. ทำน้อยได้มำก
Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+
M/L: 095-624-2449 73
การสลับล้อยาง
•ยางเรเดียลจะสลับทุกๆ
ระยะทาง 10,000 กิโลเมตร
•ยางผ้าใบจะประมาณ 5,000
กิโลเมตร
Copyright © 2015, all rights reserved. Doing LESS Getting
MORE (DLGM) บจก. ทำน้อยได้มำก
Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+
M/L: 095-624-2449 74
ชนิดของดอกยาง
•ดอกละเอียด
(RIB PATTERN)
•ดอกบั้ง
(LUG PATTERN)
•ดอกผสม
(RIB-LUG PATTERN)
•ดอกบล็อก
(BLOCK)
Copyright © 2015, all rights reserved. Doing LESS
Getting MORE (DLGM) บจก. ทำน้อยได้มำก
Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+
M/L: 095-624-2449 75
ที่มา การเลือกใช้ดอกยางรถบรรทุก
tiretruckcenterthai.blogspot.com
4 ชนิดดอกยาง
ชนิดของดอก ลักษณะดอก ข้อเด่น ประเภทรถ
ดอกละเอียด (RIB PATTERN) ลายดอกและร่องที่คดโค้งหรือ
เป็นเหลี่ยม เป็นแถวยาวตาม
เส้นรอบวงของยาง อีกทั้งดอก
หรือร่องยางที่ตื้น
ช่วยในการระบายความร้อน
เกาะถนนได้ดี ขับขี่บังคับเลี้ยว
ได้ง่าย ป้องกันการลื่นไถลออก
ด้านข้างได้ดีเยี่ยม
รถโดยสาร
ดอกบั้ง (LUG PATTERN) ลายดอกและร่องยางเป็นแนว
ขวางกับเส้นรอบวงของยาง
โดยร่องยางจะมีความลึก เนื้อ
ยางมีมาก
เวลารถเคลื่อนจะเกิดแรงกรุย
สูง และมีอายุการใช้งาน
ทนทานกว่าดอกยางแบบอื่นๆ
รถบรรทุกขนาดใหญ่ (ล้อหลัง)
รถเทรลเลอร์ รถจิ๊ป รถโฟล์
คลิฟท์ หรือรถที่วิ่งในอัตรา
ความเร็วปานกลางจนถึงต่า
Copyright © 2015, all rights reserved.
Doing LESS Getting MORE (DLGM)
บจก. ทำน้อยได้มำก
Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+
M/L: 095-624-2449
76
4 ชนิดดอกยาง
ชนิดของดอก ลักษณะดอก ข้อเด่น ประเภทรถ
ดอกผสม (MIX, RIB-LUG
PATTERN)
หน้าตาสมชื่อ ซึ่งส่วนมากตรงกลาง
ของหน้ายางจะมีลายแบบยางดอก
ละเอียด แต่ด้านซ้ายขวาเป็นลายดอก
บั้ง
วิศวกรออกแบบมาโดยรวมจุดดีของ
ยางดอกละเอียดกับยางดอกบั้งไว้
ด้วยกัน จึงทั้งเกาะถนน ป้องกันรถ
ไถลออกด้านข้าง และมีแรงกรุยดี
นามาใช้ได้ทั้งล้อหน้าและล้อหลัง วิ่ง
บนทางขรุขระหรือลาดยางก็ได้
เหมาะกับรถที่วิ่งด้วยความเร็วปาน
กลาง เช่น รถบรรทุก รถเทรลเลอร์
หรือรถโฟล์คลิฟท์ มีการใช้งานแบบ
สลับกันทั้งบนถนนทางเรียบลาดยาง
และทางขรุขระ
ดอกบล็อก (BLOCK) ยางเป็นก้อนเหลี่ยมหรือโค้งมน เรียง
ตัวกันคล้ายอิฐบล็อกปูทางเดิน แต่จะ
มีช่องว่างระหว่างบล็อก ซึ่งถ้ามอง
ตามเส้นรอบวงของยาง จะเห็นร่อง
เหมือนกับยางดอกละเอียด
เหมาะที่จะใช้กับทุกสภาพถนน ไม่ว่า
จะเป็นหาดทราย หรือ ทะเลทราย ลุย
โคลน กระทั่งบนหิมะ มีสมรรถนะ
เกาะถนนได้ดีมาก ไม่เว้นแม้ถนน
เปียก และยังมีแรงกรุยสูง ผู้ขับขี่
บังคับเลี้ยวหยุดรถได้ง่าย
รถดัมถ์ หรือรถออฟโรด หรือใช้กับ
ยางเรเดียลที่ใช้ความเร็วสูง
โดยเฉพาะรถเก๋ง
Copyright © 2015, all rights reserved.
Doing LESS Getting MORE (DLGM)
บจก. ทำน้อยได้มำก
Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+
M/L: 095-624-2449
77
ความลึกร่องดอกยาง
• ดอกยางจะลดพื้นที่ของยางในการสัมผัสกับผิวถนน
• มีบทบาทสาคัญในการรีดน้าออกจากหน้ายาง เพื่อให้ยางสามารถยึดเกาะถนน
ที่เปียกได้ดียิ่งขึ้น
• ช่วยการหยุดรถ เลี้ยว เร่งความเร็ว หรือเข้าโค้ง
• ยางใหม่มีความลึกกว่า จะสามารถรีดน้าได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุดผ่านทาง
ร่องยางต่าง ๆ
• ขณะที่คุณขับรถ แรงเสียดทานกับพื้นถนนจะทาให้ยางสึกหรอ ความลึกของ
ดอกยางลดลง ซึ่งส่งผลให้ยางลดประสิทธิภาพการรีดน้า
• ความลึกของร่องดอกยางต่า จะเพิ่มความเสี่ยงต่อการไถลบนพื้นเปียกหรือการ
เหินน้า
• การตรวจสอบความลึกของร่องดอกยางเป็นไปตามมาตรฐานความปลอดภัยที่
แนะนา ใช้เครื่องวัดความลึกร่องดอกยาง ซื้อได้ตามร้านขายอุปกรณ์ตกแต่ง
รถยนต์
• สังเกตได้จากแถบสะพานยางซึ่งเป็นตัวชี้วัดค่า 1.6 มิลลิเมตร
Copyright © 2015, all rights reserved.
Doing LESS Getting MORE (DLGM)
บจก. ทำน้อยได้มำก
Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+
M/L: 095-624-2449
78
ภาพจาก www.bridgestone.co.th/th/tire-clinic/tire-talk/when-to-replace-your-tyres
การเซาะร่องยาง
(Regroove)
Copyright © 2015, all rights reserved. Doing LESS
Getting MORE (DLGM) บจก. ทำน้อยได้มำก
Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+
M/L: 095-624-2449 79
• ลดต้นทุนได้ 10%
• ยางวิ่งได้ระยะทางเพิ่มขึ้น 25%
• ยางที่เซาะร่อง 4 เส้น จะผลิตยางใหม่ได้ 1 เส้น ประมาณ 70 กิโลกรัม
• ประหยัดน้ามันได้ 2 ลิตร ต่อ 100 กิโลเมตร
• เพิ่มสมรรถนะการยึดเกาะถนน จึงปลอดภัยกว่า
• ลดการปล่อยก๊าซคาร์บอนได้ออกไซด์
ที่มา Guide to Tyre Management on Heavy Vehicles,
Tyre Industry Federation, 2016.
Guide to tyre management and maintenance on heavy vehicles,
British Tyre Manufacturers Association (BTMA), 2020
Eng.Siripong Jungthawan
ยางที่ออกแบบมาให้
เซาะร่องดอกยางได้
(REGROOVABLE)
• ต้องดูสเปคยาง
• ใช้ไปถึงระยะดอกคงเหลือ 3 - 4 มม.
• ส่งไปเซาะร่องดอกยาง
Copyright © 2015, all rights reserved. Doing
LESS Getting MORE (DLGM) บจก. ทำน้อยได้มำก
Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+
M/L: 095-624-2449 80
Eng.Siripong Jungthawan
เทคนิคการหล่อดอกยาง (Retread)
Copyright © 2015, all rights reserved. Doing LESS
Getting MORE (DLGM) บจก. ทำน้อยได้มำก
Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+
M/L: 095-624-2449 81
ที่มา ยางหล่อดอกคืออะไร www.kitkarnyang.com
•ยางหล่อดอกสามารถช่วยลดต้นทุนได้มาก
•ต้นทุนยางหล่อดอกจะต่ากว่ายางใหม่ 30 - 50%
•สมรรถนะในการขับขี่, ความเร็ว, ความนุ่มนวล
และความปลอดภัยเทียบเท่ากับยางใหม่
•ยางที่จะนามาหล่อใหม่ควรมีความลึกดอกยาง
คงเหลือประมาณ 3 มม. และโครงยางไม่มี
บาดแผลใดๆ
แนวทางทั้ง 4
Copyright © 2015, all rights reserved. Doing LESS
Getting MORE (DLGM) บจก. ทำน้อยได้มำก
Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+
M/L: 095-624-2449 82
ยางใหม่
ยางใหม่ ซ่อร่อง หล่อดอก 1 ครั้ง
ยางใหม่ หล่อดอก 2 ครั้ง
*ยางใหม่ ซ่อร่อง หล่อดอก 2 ครั้ง
การเปรียบเทียบดอกยาง
เพื่อลดแรงต้านล้อ
•ลองเลือกหน้าหล่อดอกยางใหม่ได้ที่
•www.michelintruck.com/tools/
rolling-resistance-comparison
Copyright © 2015, all rights reserved. Doing LESS
Getting MORE (DLGM) บจก. ทำน้อยได้มำก
Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+
M/L: 095-624-2449 83
Eng.Siripong Jungthawan
ตาแหน่งการเปลี่ยนยางที่แนะนา (REMIX)
Copyright © 2015, all rights reserved.
Doing LESS Getting MORE (DLGM)
บจก. ทำน้อยได้มำก
Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+
M/L: 095-624-2449
84
• ยางใหม่ (NEW)
• ยางเซาะร่อง (REGROOVE)
• ยางหล่อดอก (RETREAD)
การหล่อดอกยาง
•ต้นทุนการหล่อ 40% ของยางใหม่
•ใช้วิ่งได้ระยะทางมากกว่าเดิม 2 - 5 เท่า จาก 100,000 เป็น 500,000 กม.
•การหล่อยาง 1 เส้น ประหยัดยางได้ประมาณ 50 กิโลกรัม
•ดอกที่หล่อคิดเป็น 20 กิโลกรัมเท่านั้น
•เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันในธุรกิจ
Copyright © 2015, all rights reserved.
Doing LESS Getting MORE (DLGM)
บจก. ทำน้อยได้มำก
Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+
M/L: 095-624-2449
85
Eng.Siripong Jungthawan
การคานวณน้ามัน
และระยะทาง
• สามารถเข้าไปคานวณได้ที่
• www.michelintruck.com/
tools/fuel-savings-calculator/#/
Copyright © 2015, all rights reserved. Doing LESS
Getting MORE (DLGM) บจก. ทำน้อยได้มำก
Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+
M/L: 095-624-2449 86
ที่มา FUEL & MILEAGE CALCULATOR
www.michelintruck.com/tools/fuel-savings-calculator/#/
Eng.Siripong Jungthawan
การตรวจสอบ
และการจัดทา
รายงาน
ประวัติยาง
Copyright © 2015, all rights reserved. Doing LESS
Getting MORE (DLGM) บจก. ทำน้อยได้มำก
Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+
M/L: 095-624-2449 87
สภาพยาง
อายุของยาง
ความลึกร่องดอกยาง
การถ่วงล้อ
โครงสร้างยาง
การตั้งศูนย์
การสลับยาง
การหล่อดอกยาง
ประวัติยาง
ประสิทธิภาพยาง (บาท/กม.) (Tire cost of ownership)
การตรวจสอบประจาวันของพนักงานขับรถ
❑ ยาง
❑ ความดัน
❑ หน้ายาง
❑ ความเสียหาย
❑ สิ่งแปลกปลอม
Copyright © 2015, all rights reserved. Doing LESS
Getting MORE (DLGM) บจก. ทำน้อยได้มำก
Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+
M/L: 095-624-2449 88
ที่มา Driver Walkaround Visual Checks, British Tyre Manufacturers Association (BTMA), 2020
Guide to Tyre Management on Heavy Vehicles, Tyre Industry Federation, 2016.
Guide to tyre management and maintenance on heavy vehicles, British Tyre Manufacturers Association (BTMA), 2020
น้ามันเครื่อง
Copyright © 2015, all rights reserved. Doing LESS
Getting MORE (DLGM) บจก. ทำน้อยได้มำก
Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+
M/L: 095-624-2449 89
แบรนด์
ประเภทของน้ามัน ธรรมดา กึ่งสังเคราะห์ สังเคราะห์
สเปค เบอร์ความหนืด ตามมาตรฐาน
ราคา และความคุ้มค่า
อายุการใช้งานตามระยะทาง หรือ ระยะเวลา
ตัวเลขทั้ง 2 ค่า
มีประโยชน์อย่างไร
• ตัวเลขหน้า (0W – 20W) ขณะน้ามันเครื่องเย็น มีประโยชน์ในการไหลเร็ว เพื่อลด
การสึกหรอลดความร้อนจากการเสียดสีของชิ้นส่วน เบอร์น้อยฟิล์มบางไหลเร็ว มาก
ฟิล์มหนาไหลช้า
• ตัวเลขหลัง (30 – 50) ขณะน้ามันเครื่องร้อน มีประโยชน์ในการลดช่องว่างและการ
รับแรงเสียดสี การตัดเฉือนจากการเคลื่อนที่ของชิ้นส่วนต่างๆ เลือกจากปัจจัยสาคัญ
นี้ คือ สภาพความสมบูรณ์ของเครื่องยนต์ และ ลักษณะการใช้งาน
Copyright © 2015, all rights reserved. Doing LESS
Getting MORE (DLGM) บจก. ทำน้อยได้มำก
Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+
M/L: 095-624-2449 90
ชื่อหน่วยงานต่างๆ
•สถาบันปิโตรเลียมแห่งสหรัฐอเมริกา (American Petroleum Institute: API)
•สมาคมการทดสอบและวัสดุแห่งสหรัฐอเมริกา (American Society for Testing
and Materials: ASTM )
•สถาบันทางทหารของสหรัฐอเมริกา (US MILITARY CLASSIFICATION)
•สมาคมวิศวกรรมยานยนต์ (The Society of Automotive Engineers: SAE)
Copyright © 2015, all rights reserved.
Doing LESS Getting MORE (DLGM)
บจก. ทำน้อยได้มำก
Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+
M/L: 095-624-2449
91
การเปรียบเทียบการเปลี่ยนถ่ายน้ามันเครื่อง
ก่อน หลัง แตกต่าง
ชนิดน้ามันเครื่อง น้ามันเครื่อง 15W - 40 สังเคราะห์
ระยะทาง (กม.) 20,000 100,000 80,000
ระยะทาง 100,000 กม. เข้าเปลี่ยน
น้ามัน (ครั้ง)
5 1 4
ต้นทุน (บาท) น้ามันเครื่อง ชุดกรอง 12,000 – 20,000 บาท/
ต่อถัง 200 ลิตร ต้นทุน X บาท
Y Y – X = บาท
รายได้เสียโอกาส ประมาณ
ค่าบริการขนส่ง 5,000 บ/เที่ยว
5 วัน x 5,000 = 25,000 บาท 1 วัน x 5,000 บาท = 5,000 บาท 25,000 – 5,000 = 20,000 บาท
ถ้ามีรถ 10 คัน 20,000 x 10 = 200,000 บาท
ถ้ามีรถ 50 คัน 20,000 x 50 = 1,000,000 บาท
ถ้ามีรถ 100 คัน 20,000 x 100 = 2,000,000 บาท
Copyright © 2015, all rights reserved.
Doing LESS Getting MORE (DLGM)
บจก. ทำน้อยได้มำก
Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+
M/L: 095-624-2449
92
เครื่องยนต์ และระบบต่างๆ
Copyright © 2015, all rights reserved. Doing LESS
Getting MORE (DLGM) บจก. ทำน้อยได้มำก
Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+
M/L: 095-624-2449 93
เครื่องยนต์ ระบบส่งกาลัง ระบบน้ามัน ระบบแอร์
ระบบความเย็น
(สาหรับห้องเย็น
หรือตู้เย็น)
ระบบไฟฟ้า
ระบบรถพ่วง
หัวและหางลาก
Eng.Siripong Jungthawan
เส้นทางในการวิ่ง (Route)
วางแผนเส้นทาง
การวิ่ง
ใช้ระบบนาทาง
(Navigator)
การลงของให้ได้หลายๆ
ที่ (Multi drops)
การบรรทุกให้เติมคัน
(FTL / LTL)
การวิ่งเที่ยวเปล่า
(Backhauling)
การวิ่งครั้งเดียวรับส่ง
ได้หมด (Milk Run)
Copyright © 2015, all rights reserved.
Doing LESS Getting MORE (DLGM)
บจก. ทำน้อยได้มำก
Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+
M/L: 095-624-2449
94
การเตรียมตัวเบื้องต้นเพื่อความปลอดภัยของผู้ขับขี่
Copyright © 2015, all rights reserved. Doing LESS
Getting MORE (DLGM) บจก. ทำน้อยได้มำก
Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+
M/L: 095-624-2449 95
ปรับเก้าอี้ และ
กระจกให้เรียบร้อย
คาดเข็มขัดนิรภัยทุก
ครั้ง
ถ้ามีอาการเหนื่อย
ล้า ง่วง หรือเบลอ
ให้จอดรถพักทันที
ไม่ทานยาที่ทาให้
ง่วงนอน เช่น ยาแก้
แพ้
นอนหลับพักผ่อนให้
เพียงพอ
ไม่ใช้สารเสพติดทุก
ชนิด
ไม่ใช้โทรศัพท์มือถือ
ขณะขับรถ
เว้นระยะห่างจากรถ
คันหน้าให้เหมาะสม
รักษาความเร็วให้
เหมาะสม ไม่ขับเร็วกว่า
ความเร็วที่กาหนดไว้
สังเกตรอบๆ ตัว
ตลอดเวลา
ระมัดระวังจุดบอด
เสมอ
ใช้สัญญาณไฟต่างๆ
ให้เหมาะสม
การจัดเรียงสินค้าให้ปลอดภัย
Copyright © 2015, all rights reserved. Doing LESS
Getting MORE (DLGM) บจก. ทำน้อยได้มำก
Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+
M/L: 095-624-2449 96
• วางใกล้ฝั่งหัวลาก
• วางสินค้าตรงกลางเพื่อให้เกิดการ
กระจายน้าหนักให้เท่ากัน
• ไม่วางสินค้าสูงจนเกินไป
• ใช้แท่นรองรับน้าหนักให้สมดุล
• ผูกมัดชิ้นงานให้แน่นๆ
• ไม่วางสินค้ายื่นออกมานอกตัวรถ
จนมากเกินไป
จุดบอดของรถบรรทุกที่มีความเสี่ยง
•ด้านขวามือ เตี้ยกว่ากระจกมองข้าง
•ด้านหน้า เบรกแตก
•ด้านซ้าย มุมต่าวิสัยทัศน์แคบ มองไม่เห็น
•ด้านหลัง คนขับมองไม่เห็นด้านหลังรถ
Copyright © 2015, all rights reserved. Doing
LESS Getting MORE (DLGM) บจก. ทำน้อยได้มำก
Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+
M/L: 095-624-2449 97
ประกันภัยรถ
Copyright © 2015, all rights reserved. Doing
LESS Getting MORE (DLGM) บจก. ทำน้อยได้มำก
Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+
M/L: 095-624-2449 98
ที่มา ประกันภัยรถยนต์ภาคสมัครใจ สาหรับรถบรรทุก, 2565
www.tidlor.com
Eng.Siripong Jungthawan
การลดแรงต้านด้วยอุปกรณ์ (Aerodynamics)
•ชิ้นส่วนบนห้อง พขร.
•ช่องว่างระหว่างหัวลาก
และหาง
•ด้านท้ายรถพ่วง
•ด้านข้างรถพ่วง
•ด้านล่างรถพ่วง
•บังโคลน
ที่มา SmartTruck: Precision Aerodynamics, www.SmartTruckAero.com, 2020
การลดแรงต้านด้วยอุปกรณ์
(Aerodynamics) ทาให้ประหยัด
น้ามันสูงถึง 20 – 30%
ที่มา ดัดแปลงจาก Thomas Curry, Isaac Liberman, Lily Hoffman-Andrews & Dana Lowell, Reducing Aerodynamic Drag & Rolling Resistance from Heavy-Duty
Trucks: Summary of Available Technologies & Applicability to Chinese Trucks, International Council on Clean Transportation: CA, 2012
Technology Roadmap for the 21 st Century Truck Program: A Government-Industry Research Partnership, Department of Energy: US, 2000.
การลดพลังงาน
(ENERGY GUARD
SOLUTION)
• ที่มา ดัดแปลงจาก SAVE FUEL AND WEIGHT WITH
MICHELIN® X ONE® TIRES AND ENERGY GUARD
AERODYNAMIC SOLUTIONS, Michelin, 2022
https://business.michelinman.com/fuelsaver
Eng.Siripong Jungthawan
กระบวนการ
(Process)
•รับคาสั่งซื้อ
•จัดตารางรถและเส้นทาง
•รับสินค้า
•บรรจุสินค้า
•ขนส่งสินค้า
•วางบิล และเก็บเงิน
Eng.Siripong Jungthawan
ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
• Autonomous Vehicle Technology
• Camera, Auto vision
• Distribution Requirement Planning (DRP)
• Enterprise Resource Planning (ERP)
• Fleet Management Systems (FMS)
• Fuel Management Systems (FMS)
• GPS, Internet of Things (IoT)
• Logistics Platform
• Tire Management Systems (TMS)
• Tire Pressure Management Systems
(TPMS)
• Tracking System
• Transpiration Management System (TMS)
• Warehouse Management System (WMS)
Copyright © 2015, all rights reserved. Doing LESS
Getting MORE (DLGM) บจก. ทำน้อยได้มำก
Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+
M/L: 095-624-2449 103
Eng.Siripong Jungthawan
ยานยนต์ขับเคลื่อนอัตโนมัติ
(Autonomous Vehicle Technology)
• SAE แบ่งไว้ 5 ระดับ
• L0 – 3 ต้องมี พขร. L4 – 5 ไม่ต้อง
ที่มา ดัดแปลงจาก Identifying Autonomous Vehicle Technology Impacts on the Trucking Industry,
American Transportation Research Institute (ATRI), 2016
กล้องตัวจับภาพ ตาเทพ (Camera, Auto vision)
•ใช้กล้องแทน ไม่จาเป็นต้องใช้กระจกข้าง
•ลดอุบัติเหตุ
•ลดแรงต้านจากลม
Copyright © 2015, all rights reserved.
Doing LESS Getting MORE (DLGM)
บจก. ทำน้อยได้มำก
Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+
M/L: 095-624-2449
105
ที่มา Trucks and vision-related accidents: active safety 50% more effective than ‘direct vision’ cabs,
European Automobile Manufacturers’ Association (ACEA), 2018
การวางแผนความ
ต้องการการกระจายสินค้า
Distribution
Requirement
Planning (DRP)
• ข้อถึงข้อมูล เอามาเชื่อมโยงกัน เครือข่าย
สมาชิกในโซ่อุปทาน ความสามรถในการ
ขนส่งสินค้า และสินค้าคงคลังที่มี
• เชื่อมแต่ละสมาชิก ด้วยข้อมูลชุดเดียวกัน
• วางแผนได้อย่างรวดเร็ว ไม่ใช่
Spreadsheet ในการวางแผนอีกต่อไป
• คาดการณ์ได้ว่าจะเกิดอะไรขึ้น สร้างเลือก
ในการตัดสินใจ
Copyright © 2015, all rights reserved. Doing LESS
Getting MORE (DLGM) บจก. ทำน้อยได้มำก Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+ M/L: 095-624-2449 106
ที่มา How analytics augments distribution requirement planning: Advances in supply chain technology take the guesswork out of deployment, genpact 2018
www.genpact.com/insight/blog/how-analytics-augments-distribution-requirement-planning
Eng.Siripong Jungthawan
ระบบการวางแผนทรัพยากร
ธุรกิจขององค์กร
(Enterprise Resource
Planning : ERP)
ERP เป็นการบริหารทรัพยากรให้เกิดประโยชน์สูงสุดโดยใช้
ระบบสารสนเทศมาบูรณาการงานหลัก (Core business
process) ทั้งหมดเข้าด้วย และสามารถเชื่องโยงกันอย่างทัน
กาล (Real-time) เป็นว่าเทคโนโลยีสารสนเทศที่ทันสมัยของ
ปัจจุบันจึงจะสามารถทาให้เป็นจริงขึ้นได้
Copyright © 2015, all rights reserved. Doing LESS
Getting MORE (DLGM) บจก. ทำน้อยได้มำก
Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+
M/L: 095-624-2449 107
ที่มา ERP integration with cloud-based solutions
www.esker.com/business-needs/erp-integration/cloud-erp-integration/https://actech.af/erp-system/
ระบบการจัดการยานพาหนะ
(Fleet Management System)
• ทราบสถานะของยานพาหนะทั้งหมด
• จัดการเส้นทางยานพาหนะ
• ติดตามเส้นทางที่ยานพาหนะวิ่ง
• ทราบความเร็ว ระยะเวลาโดยประมาณ
• บริหารจัดการยานพาหนะได้ 24/7
Copyright © 2015, all rights reserved.
Doing LESS Getting MORE (DLGM)
บจก. ทำน้อยได้มำก
Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+
M/L: 095-624-2449
108
ที่มา ระบบการจัดการยานพาหนะ (Fleet Management System)
www.cartrack.co.th/fleet-management
Eng.Siripong Jungthawan
ระบบการบริหารน้ามัน
(Fuel Management
System)
• ผู้ที่มีระบบปั้มน้ามันตนเอง
• ติดตามน้ามันว่าเติมไปเท่าไร
เชื่อมกับตัวรถว่าใช้ไปเท่าไร
• โปร่งใส ตรวจสอบได้
• มักเจอปัญหาทุจริตเสมอ
Copyright © 2015, all rights reserved. Doing LESS
Getting MORE (DLGM) บจก. ทำน้อยได้มำก Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+ M/L: 095-624-2449 109
ที่มา Global Fuel Management System Market Size and Research 2021, CAGR Status, Growth
Analysis by Countries, Development Factors and Strategies till 2027: Ken Research
https://researchforecast.com/global-fuel-management-system-market-forecast-2027/
Eng.Siripong Jungthawan
ระบบการจัดการยาง
(Tire Management
Systems: TMS)
•การติดตามยาง ลม โครงสร้าง
สภาพยาง
•เตือนเมื่อถึงระยะที่กาหนด (กม.)
•วางแผนการจัดการ สลับยาง
เปลี่ยนยาง เซาะร่อง หล่อดอก
•การจัดการสต๊อกยางผ่าน RFID
Copyright © 2015, all rights reserved. Doing LESS Getting MORE
(DLGM) บจก. ทำน้อยได้มำก Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+ M/L: 095-624-2449 110
ที่มา MICHELIN TIRE MONITORING, 2022
https://business.michelin.co.uk/freight-transport/freight-transport-services/michelin-tire-monitoring
Eng.Siripong Jungthawan
ระดับการจัดการลมยาง
(Tire Pressure Management
Systems : TPMS)
11
1
•ติดตามลมยางแต่ละเส้น
•แต้งเตือนเรื่องอุณหภูมิ
•ใช้งานง่ายเปลี่ยนแทนจุกลมยาง
•ใช้ได้กับยางรถยนต์ทุกชนิด
Copyright © 2015, all rights reserved. Doing LESS Getting MORE (DLGM)
บจก. ทำน้อยได้มำก
Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+
M/L: 095-624-2449
Eng.Siripong Jungthawan
การนาหลักการไป
ประยุกต์ใช้
• กาหนดนโยบายให้จริงจัง และ
ติดตามผลทุกเดือน
• เปรียบเทียบเชิงตัวเลขด้วย
Spreadsheet และ Dashboard
• ติดตามผลลัพธ์ทางทฤษฎี และ
ปฏิบัติจริง
• ขยายผลใช้งาน
• หมั่นหาวิธีการใหม่ๆ จาก Best
practice อย่างน้อยปีละครั้ง
Eng.Siripong Jungthawan
แบบจาลอง
ธุรกิจใหม่ๆ
(6PL)
Copyright © 2015, all rights reserved. Doing LESS
Getting MORE (DLGM) บจก. ทำน้อยได้มำก
Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+
M/L: 095-624-2449 113
เอกสารอ้างอิง
• คานาย อภิปรัชญาสกุล, คู่มือลดต้นทุนน้ามันเชื้อเพลิงขนส่งและโลจิสติกส์, กรุงเทพมหานคร: โฟกัสมีเดีย
แอนด์ พับลิชชิ่ง, 2553.
• สานักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร สถาบันพลังงาน สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย
สนับสนุนโดย ธนาคารเพื่อการพัฒนาเอเชีย (Asian Development Bank: ADB), เอกสารประกอบการ
บรรยาย Green Freight Interventions among SMEs, กรุงเทพมหานคร,2558
• Basics of Distribution and Logistics, ASCM, 2022
• www.michelin.co.th
• www.google.com
Copyright © 2015, all rights reserved.
Doing LESS Getting MORE (DLGM)
บจก. ทำน้อยได้มำก
Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+
M/L: 095-624-2449
114

More Related Content

What's hot

กรณีศึกษา1 การบินไทย
กรณีศึกษา1 การบินไทยกรณีศึกษา1 การบินไทย
กรณีศึกษา1 การบินไทยChatchamon Uthaikao
 
มูลค่าเงินตามเวลา
มูลค่าเงินตามเวลามูลค่าเงินตามเวลา
มูลค่าเงินตามเวลาtumetr1
 
แผนธุรกิจร้านก๋วยเตี๋ยวลูกชิ้นปลา “ชามโต”
แผนธุรกิจร้านก๋วยเตี๋ยวลูกชิ้นปลา “ชามโต”แผนธุรกิจร้านก๋วยเตี๋ยวลูกชิ้นปลา “ชามโต”
แผนธุรกิจร้านก๋วยเตี๋ยวลูกชิ้นปลา “ชามโต”Utai Sukviwatsirikul
 
Business Model Canvass for NANO MBA 6 26 Jul 2015
Business Model Canvass for NANO MBA 6 26 Jul 2015Business Model Canvass for NANO MBA 6 26 Jul 2015
Business Model Canvass for NANO MBA 6 26 Jul 2015Utai Sukviwatsirikul
 
1 บทนำ แก๊สและสมบัติของแก๊ส
1 บทนำ แก๊สและสมบัติของแก๊ส1 บทนำ แก๊สและสมบัติของแก๊ส
1 บทนำ แก๊สและสมบัติของแก๊สPreeyapat Lengrabam
 
ผลงานนักศึกษาวิชาโครงงาน
ผลงานนักศึกษาวิชาโครงงานผลงานนักศึกษาวิชาโครงงาน
ผลงานนักศึกษาวิชาโครงงานAjBenny Pong
 
แรงตึงผิว]
แรงตึงผิว]แรงตึงผิว]
แรงตึงผิว]Janesita Sinpiang
 
จิงโจ้น้ำกับแรงตึงผิว
จิงโจ้น้ำกับแรงตึงผิวจิงโจ้น้ำกับแรงตึงผิว
จิงโจ้น้ำกับแรงตึงผิวadriamycin
 
พื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตรพื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตรamnesiacbend
 
3ความตึงผิว และความหนืด
3ความตึงผิว  และความหนืด3ความตึงผิว  และความหนืด
3ความตึงผิว และความหนืดWijitta DevilTeacher
 
การศึกษาวรรณกรรมพระพุทธศาสนา กามนิต
การศึกษาวรรณกรรมพระพุทธศาสนา กามนิตการศึกษาวรรณกรรมพระพุทธศาสนา กามนิต
การศึกษาวรรณกรรมพระพุทธศาสนา กามนิตItt Bandhudhara
 
แม่เหล็กและแรงแม่เหล็ก
แม่เหล็กและแรงแม่เหล็กแม่เหล็กและแรงแม่เหล็ก
แม่เหล็กและแรงแม่เหล็กSakad Rinrith
 
การประเมินโครงการลงทุน
การประเมินโครงการลงทุนการประเมินโครงการลงทุน
การประเมินโครงการลงทุนNaphaphat Niyomjan
 
สารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอมสารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอมkand-2539
 
วิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 6
วิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 6วิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 6
วิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 6Khwanchai Changkerd
 

What's hot (20)

กรณีศึกษา1 การบินไทย
กรณีศึกษา1 การบินไทยกรณีศึกษา1 การบินไทย
กรณีศึกษา1 การบินไทย
 
มูลค่าเงินตามเวลา
มูลค่าเงินตามเวลามูลค่าเงินตามเวลา
มูลค่าเงินตามเวลา
 
แผนธุรกิจร้านก๋วยเตี๋ยวลูกชิ้นปลา “ชามโต”
แผนธุรกิจร้านก๋วยเตี๋ยวลูกชิ้นปลา “ชามโต”แผนธุรกิจร้านก๋วยเตี๋ยวลูกชิ้นปลา “ชามโต”
แผนธุรกิจร้านก๋วยเตี๋ยวลูกชิ้นปลา “ชามโต”
 
Business Model Canvass for NANO MBA 6 26 Jul 2015
Business Model Canvass for NANO MBA 6 26 Jul 2015Business Model Canvass for NANO MBA 6 26 Jul 2015
Business Model Canvass for NANO MBA 6 26 Jul 2015
 
1 บทนำ แก๊สและสมบัติของแก๊ส
1 บทนำ แก๊สและสมบัติของแก๊ส1 บทนำ แก๊สและสมบัติของแก๊ส
1 บทนำ แก๊สและสมบัติของแก๊ส
 
ผลงานนักศึกษาวิชาโครงงาน
ผลงานนักศึกษาวิชาโครงงานผลงานนักศึกษาวิชาโครงงาน
ผลงานนักศึกษาวิชาโครงงาน
 
2ตัวอย่างนำเสนอโครงการ
2ตัวอย่างนำเสนอโครงการ2ตัวอย่างนำเสนอโครงการ
2ตัวอย่างนำเสนอโครงการ
 
แรงตึงผิว]
แรงตึงผิว]แรงตึงผิว]
แรงตึงผิว]
 
จิงโจ้น้ำกับแรงตึงผิว
จิงโจ้น้ำกับแรงตึงผิวจิงโจ้น้ำกับแรงตึงผิว
จิงโจ้น้ำกับแรงตึงผิว
 
พื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตรพื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตร
 
แก๊สอุดมคติ
แก๊สอุดมคติแก๊สอุดมคติ
แก๊สอุดมคติ
 
3ความตึงผิว และความหนืด
3ความตึงผิว  และความหนืด3ความตึงผิว  และความหนืด
3ความตึงผิว และความหนืด
 
การศึกษาวรรณกรรมพระพุทธศาสนา กามนิต
การศึกษาวรรณกรรมพระพุทธศาสนา กามนิตการศึกษาวรรณกรรมพระพุทธศาสนา กามนิต
การศึกษาวรรณกรรมพระพุทธศาสนา กามนิต
 
แม่เหล็กและแรงแม่เหล็ก
แม่เหล็กและแรงแม่เหล็กแม่เหล็กและแรงแม่เหล็ก
แม่เหล็กและแรงแม่เหล็ก
 
การประเมินโครงการลงทุน
การประเมินโครงการลงทุนการประเมินโครงการลงทุน
การประเมินโครงการลงทุน
 
สารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอมสารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอม
 
Tipco
TipcoTipco
Tipco
 
2คำนำ
2คำนำ2คำนำ
2คำนำ
 
Global Market Entry Strategies (Ch.5)
Global Market Entry Strategies (Ch.5)Global Market Entry Strategies (Ch.5)
Global Market Entry Strategies (Ch.5)
 
วิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 6
วิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 6วิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 6
วิชาการจัดการพาณิชย์นาวี บทที่ 6
 

Similar to การจัดการต้นทุนรวมสำหรับการขนส่ง 220323 MICHELIN How to total cost of ownership

RSU Logistics 4.0 การปรับตัวของผู้ประกอบการในยุค Digital
RSU Logistics 4.0 การปรับตัวของผู้ประกอบการในยุค DigitalRSU Logistics 4.0 การปรับตัวของผู้ประกอบการในยุค Digital
RSU Logistics 4.0 การปรับตัวของผู้ประกอบการในยุค DigitalDr.Eng.Siripong Jungthawan, PhD, MBA, ACPE, CAP, CSCP, EPPM
 

Similar to การจัดการต้นทุนรวมสำหรับการขนส่ง 220323 MICHELIN How to total cost of ownership (20)

SPU Proof of Concept and Completive Analysis 221001 P.pdf
SPU Proof of Concept and Completive Analysis 221001 P.pdfSPU Proof of Concept and Completive Analysis 221001 P.pdf
SPU Proof of Concept and Completive Analysis 221001 P.pdf
 
Lean Canvas H 231117.pdf
Lean Canvas H 231117.pdfLean Canvas H 231117.pdf
Lean Canvas H 231117.pdf
 
How to import and distribute beauty products in thailand 210625
How to import and distribute beauty products in thailand 210625How to import and distribute beauty products in thailand 210625
How to import and distribute beauty products in thailand 210625
 
Lean Supply Chain for SPU 190221
Lean Supply Chain for SPU 190221Lean Supply Chain for SPU 190221
Lean Supply Chain for SPU 190221
 
Lean s curve BBU 181122 for Printing and Distribution
Lean s curve BBU 181122 for Printing and DistributionLean s curve BBU 181122 for Printing and Distribution
Lean s curve BBU 181122 for Printing and Distribution
 
Lean startup and innovation 200514 KRIS
Lean startup and innovation 200514 KRISLean startup and innovation 200514 KRIS
Lean startup and innovation 200514 KRIS
 
Lean covid19 210609 DIProm MOI
Lean covid19 210609 DIProm MOILean covid19 210609 DIProm MOI
Lean covid19 210609 DIProm MOI
 
Business model canvas 161220 smart biz
Business model canvas 161220 smart bizBusiness model canvas 161220 smart biz
Business model canvas 161220 smart biz
 
RSU Logistics 4.0 การปรับตัวของผู้ประกอบการในยุค Digital
RSU Logistics 4.0 การปรับตัวของผู้ประกอบการในยุค DigitalRSU Logistics 4.0 การปรับตัวของผู้ประกอบการในยุค Digital
RSU Logistics 4.0 การปรับตัวของผู้ประกอบการในยุค Digital
 
Lean iot 201202
Lean iot 201202Lean iot 201202
Lean iot 201202
 
Kuh entrepreneurs mindset 190330
Kuh entrepreneurs mindset 190330Kuh entrepreneurs mindset 190330
Kuh entrepreneurs mindset 190330
 
Bmc and vpd 170411 bbu print
Bmc and vpd 170411 bbu printBmc and vpd 170411 bbu print
Bmc and vpd 170411 bbu print
 
Gew2020 youth entrepreneurship
Gew2020 youth entrepreneurshipGew2020 youth entrepreneurship
Gew2020 youth entrepreneurship
 
Lean logistics 181025 DTC Solution Day 2018
Lean logistics 181025 DTC Solution Day 2018Lean logistics 181025 DTC Solution Day 2018
Lean logistics 181025 DTC Solution Day 2018
 
Intro to startup 181002 ku startup print
Intro to startup  181002 ku startup printIntro to startup  181002 ku startup print
Intro to startup 181002 ku startup print
 
Lean canvas 180618 startup week 2018 print
Lean canvas 180618 startup week 2018 printLean canvas 180618 startup week 2018 print
Lean canvas 180618 startup week 2018 print
 
Lean canvas 180609 noah print
Lean canvas 180609 noah printLean canvas 180609 noah print
Lean canvas 180609 noah print
 
Eit scm academy 29 nov2014
Eit scm academy 29 nov2014Eit scm academy 29 nov2014
Eit scm academy 29 nov2014
 
GEW2020 Design business model for new business
GEW2020 Design business model for new businessGEW2020 Design business model for new business
GEW2020 Design business model for new business
 
Lean covid 19 pr os-cons for SPU
Lean covid 19 pr os-cons for SPULean covid 19 pr os-cons for SPU
Lean covid 19 pr os-cons for SPU
 

More from Dr.Eng.Siripong Jungthawan, PhD, MBA, ACPE, CAP, CSCP, EPPM

More from Dr.Eng.Siripong Jungthawan, PhD, MBA, ACPE, CAP, CSCP, EPPM (11)

Lean quickwin 2108008 ie su
Lean quickwin 2108008 ie suLean quickwin 2108008 ie su
Lean quickwin 2108008 ie su
 
Lean startup and innovation 180901 KMITL modern entrepreneurship
Lean startup and innovation 180901 KMITL modern entrepreneurshipLean startup and innovation 180901 KMITL modern entrepreneurship
Lean startup and innovation 180901 KMITL modern entrepreneurship
 
Starutp fundamental 180719 yeah print (Startup + Lean startup + MVP + BMC)
Starutp fundamental 180719 yeah print (Startup + Lean startup + MVP + BMC)Starutp fundamental 180719 yeah print (Startup + Lean startup + MVP + BMC)
Starutp fundamental 180719 yeah print (Startup + Lean startup + MVP + BMC)
 
Lean systems 180714 SPU
Lean systems 180714 SPULean systems 180714 SPU
Lean systems 180714 SPU
 
Lean ลดต้นทุนธุรกิจ งานเสร็จไว กำไรพุ่ง 180629
Lean ลดต้นทุนธุรกิจ งานเสร็จไว กำไรพุ่ง 180629Lean ลดต้นทุนธุรกิจ งานเสร็จไว กำไรพุ่ง 180629
Lean ลดต้นทุนธุรกิจ งานเสร็จไว กำไรพุ่ง 180629
 
Lean systems KMUTNB Rayong
Lean systems KMUTNB RayongLean systems KMUTNB Rayong
Lean systems KMUTNB Rayong
 
Lean systems 180225 kmutt print
Lean systems 180225 kmutt printLean systems 180225 kmutt print
Lean systems 180225 kmutt print
 
Resume Siripong E42
Resume Siripong E42Resume Siripong E42
Resume Siripong E42
 
Strategic Management
Strategic ManagementStrategic Management
Strategic Management
 
Kai Zen
Kai ZenKai Zen
Kai Zen
 
Thinking Concept
Thinking ConceptThinking Concept
Thinking Concept
 

การจัดการต้นทุนรวมสำหรับการขนส่ง 220323 MICHELIN How to total cost of ownership

  • 2. Eng.Siripong S Jungthawan, MBA, BEng, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+ Partner and Workgroup, Global Entrepreneurship Network (Thailand) PhD (Logistics and Supply Chain Management) Program Manager, International College, KMITL Design · Learn · Grow · Mature LEAN Master and Co-founder, Doing Less Getting More LEAN Mentor, LEAN Startup Machine LEAN Startup Thailand Mentor and Jury Moderator, Creative Business CUP (CBC) Founder, LEANxACADEMY.com Founder and Mentor, Samsen Startup Club (SSC) Sub committee: Demand Planner, Driving Logistics and Supply Chain Management Manpower Office of the Education Council, Ministry of Education 2 LEAN Series : The Best Seller Eng.Siripong Jungthawan
  • 3. ลูกค้าของเรามากกว่า 350 บริษัท ทั้งในและต่างประเทศ Copyright © 2015, all rights reserved. Doing LESS Getting MORE (DLGM) บจก. ทำน้อยได้มำก Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+ M/L: 095-624-2449 3 Hi-technology Food and Medicine Service and consumer Public and Government unit Educational institution Logistics & Distribution Expert
  • 4. โซ่อุปทานจะมุ่งเน้นด้านใดในปี 2564 Supply Chain areas of focus 2021 • การวางแผนโซ่อุปทาน • การจัดหาและจัดซื้อ • นวัตกรรม • โลจิสติกส์ • การจัดการคาสั่งซื้อ • การพัฒนาผลิตภัณฑ์ • การผลิตสินค้า Copyright © 2015, all rights reserved. Doing LESS Getting MORE (DLGM) บจก. ทำน้อยได้มำก Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+ M/L: 095-624-2449 4
  • 5. แบบจาลองโซ่อุปทาน (3 สมาชิก 4 การไหล 6 กระบวนการ) 5 ผู้ผลิต/บริการ (Manufacturer) ผู้กระจายสินค้า (Distributor) ลูกค้า (Customer) การไหลของสารสนเทศ (Information flow) ผู้กระจายสินค้า ลูกค้า ลูกค้า ลูกค้า การไหลของวัสดุ (Material flow) การไหลของกระแสเงินสด (Cash flow) การไหลของวัสดุย้อนกลับ (Reverse material flow) ผู้จัดหาวัตถุดิบ ขั้นที่ 1 (Tier 1 Material supplier) ผู้จัดหาวัตถุดิบ ขั้นที่ 1 ผู้จัดหาวัตถุดิบ ขั้นที่ 1 ผู้จัดหาวัตถุดิบ ขั้นที่ 2 (Tier 2 Material supplier) ผู้จัดหาวัตถุดิบ ขั้นที่ 2 ผู้จัดหาวัตถุดิบ ขั้นที่ 2 ผู้จัดหาวัตถุดิบ ขั้นที่ 2 ผู้จัดหาวัตถุดิบ ขั้นที่ 2 ต้นน้า (Upstream) กลางน้า (Midstream) ปลายน้า (Downstream) วางแผน (Plan: P) จัดหา (Source :S) ผลิต (Make: M) ส่งมอบ (Deliver :D) ทาให้เกิด (Enable: E) รับคืน (Return :R) รับคืน (Return :R) รับคืน (Return :R) รับคืน (Return :R) Copyright © 2015, all rights reserved. Doing LESS Getting MORE (DLGM) บจก. ทำน้อยได้มำก Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+ M/L: 095-624-2449
  • 6. ต้นทุนด้านโลจิสติกส์ (Logistics Cost) • ต้นทุนการขนส่ง (Transportation cost) • ต้นทุนค่าจัดเก็บสินค้าคงคลัง (Inventory carrying cost) • เงินลงทุนในสินค้าคงคลัง (Capital cost for inventory investment) ดอกเบี้ยเงินกู้ 3-8% • ต้นทุนบริการสินค้าคงคลัง (Inventory service cost) ขององค์กร หรือ เช่าคลังสินค้า • ต้นทุนค่าพื้นที่จัดเก็บ (Inventory space cost) คลังสินค้าโรงงาน สาธารณะ คลังเช่า คลังเอกชน คลังสินค้าทัณฑ์บน • ต้นทุนความเสี่ยงของสินค้าคงคลัง (Inventory riks cost) หมดอายุ แตกหัก ถูกขโมย เคลื่อนย้าย • ต้นทุนค่าบริหารโลจิสติกส์ (Administration cost) เจ้าหน้าที่สนับสนุน เจ้าหน้าที่โลจิสติกส์ 6 Copyright © 2015, all rights reserved. Doing LESS Getting MORE (DLGM) บจก. ทำน้อยได้มำก Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+ M/L: 095-624-2449 Eng.Siripong Jungthawan
  • 7. เป้าหมายยกระดับความพึงพอใจของลูกค้า (Customer service goals) ต้องกาหนดยุทธศาสตร์ทั้ง 3 เรื่องนี้ให้ดี •สินค้าคงคลัง (Inventory) •การขนส่ง (Transportation) •เครือข่ายช่องทางการกระจายสินค้า (Channel network) •เพื่อจะเพิ่มระดับการให้บริการ ลดต้นทุน ลดเงินลงทุนในแต่ละช่องทาง ความพึง พอใจ สินค้าคง คลัง การขนส่ง เครือข่าย ช่องทาง 7 Copyright © 2015, all rights reserved. Doing LESS Getting MORE (DLGM) บจก. ทำน้อยได้มำก Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+ M/L: 095-624-2449 Eng.Siripong Jungthawan
  • 8. เป้าหมายยกระดับความพึงพอใจของลูกค้า (Customer service goals) ต้องตอบ 3 โจทย์ นี้ •ลดเงินลงทุนด้านสินทรัพย์ (Channel capital reduction) •ลดต้นทุนในกิจกรรมต่างๆ (Cost reduction) •เพิ่มระดับการบริการ (Service improvement) เงิน ลงทุน ลด ต้นทุน ระดับ บริการ ความพึงพอใจ 8 Copyright © 2015, all rights reserved. Doing LESS Getting MORE (DLGM) บจก. ทำน้อยได้มำก Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+ M/L: 095-624-2449 Eng.Siripong Jungthawan
  • 10. มันจะเกิดอะไรขึ้นกับต้นทุนโลจิสติกส์ ถ้าตัดสินใจเพิ่มระดับในการบริการ Question: What would happen to logistics costs if a decision is made to increase service? ค่าขนส่ง ค่าสินค้าคงคลัง และค่าสาธารณูปโภคต่างๆ จะเพิ่มขึ้น Answer: Transportation, inventory, and facility costs will increase.
  • 11. เครือข่ายช่องทางการกระจายสินค้า (Channel network) •ระดับการบริการ ความต้องการเพิ่มระดับในการบริการ •พื้นที่ทาเล การเคลื่อนย้ายสินทรัพย์ถาวร คลังสินค้าให้เหมาะสมกับอุปสงค์ อุปทาน •ความยืดหยุ่น ปรับเปลี่ยนได้ตามความต้องการของลูกค้า •การขยายธุรกิจ ขยายธุรกิจได้อย่างรวดเร็ว •ความหลากหลายของสินค้าสร้างหรือหาสินค้าเข้ามาเพิ่มได้ง่ายขึ้น •การกระจายอานาจ การควบคุมดูแล การจัดการด้านต้นทุน กิจกรรมต่างๆ 11 Copyright © 2015, all rights reserved. Doing LESS Getting MORE (DLGM) บจก. ทำน้อยได้มำก Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+ M/L: 095-624-2449
  • 12. สิ่งสาคัญในการออกแบบ ระบบโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน • สมาชิกในโซ่อุปทาน มีหน้าที่อะไรบ้าง • ที่ตั้งสมาชิก ตาแหน่งที่ตั้งอยู่ที่ไหนบ้าง • ความสามารถในการจัดเก็บ แต่ละจุดสามารถเก็บ สินค้าคงคลังได้เท่าไร • องค์กรสามารถจัดการ ควบคุมส่วนไหนได้บ้างใน โซ่อุปทาน 12 Copyright © 2015, all rights reserved. Doing LESS Getting MORE (DLGM) บจก. ทำน้อยได้มำก Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+ M/L: 095-624-2449
  • 13. ระบบโซ่อุปทาน และโลจิสติกส์ ขององค์กรคุณ คือ รูปแบบใด? 13 I – P – O – C กระบวนการ S – D – C ค้าส่ง S – M – D – C ผลิตและจาหน่าย S – S – M – D – C วัตถุดิบ/สินค้าและจาหน่าย S – S – M – D – D – C ผลิต ค้าปลีก/ส่ง Copyright © 2015, all rights reserved. Doing LESS Getting MORE (DLGM) บจก. ทำน้อยได้มำก Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+ M/L: 095-624-2449 Eng.Siripong Jungthawan
  • 15. ระดับชั้นของช่องทางการกระจายสินค้า ผู้ผลิต คลังสินค้า ศูนย์กระจายสินค้า ลูกค้า คลังสินค้า ลูกค้า ตัวกลาง ผู้ค้าปลีก ลูกค้า ผู้ค้าส่ง ผู้ค้าปลีก ลูกค้า แพลตฟอร์ม ลูกค้า ช่องทางออนไลน์ ลูกค้า ลองเขียนช่องทางขององค์กรของคุณ ศูนย์กระจาย เอาของมาจัดส่งเลย (Flow through) คลังสินค้า เก็บของ รอส่งต่อ (Keep) 15 Copyright © 2015, all rights reserved. Doing LESS Getting MORE (DLGM) บจก. ทำน้อยได้มำก Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+ M/L: 095-624-2449 Eng.Siripong Jungthawan
  • 16. แนวคิดต้นทุนในการออกแบบเครือข่ายช่องทางการกระจายสินค้า (Channel Network Design Process) • เป้าหมายสาคัญของการออกแบบช่องทางการกระจายสินค้า คือ ตอบสนองต่อลูกค้าให้ได้มากที่สุด กาไรมากที่สุด โดยมีต้นทุนต่าที่สุด (Goal of the channel network design process is to maximize customer responsiveness while optimizing company profits and lowering operations costs.) • เส้นปะจะเป็นระยะเวลาในการตอบสนองลูกค้า (The dotted line represents the customer response time) • เส้นทึบคือต้นทุนรวมโลจิสติกส์ (The solid line represents the total logistics cost (inventory, transportation, and facilities).) • เวลาในการตอบสนองไว จานวนคลังก็ต้องมากตาม ทาให้ต้นทุนโลจิ สติกส์จะเพิ่มขึ้น (As the customer response time shortens and the number of channel entities grows, total logistics costs at first decrease but then increase as they cross over response time.) Source: Framework for Channel Network Design, Association for Supply Chain Management, 2022. 16 Copyright © 2015, all rights reserved. Doing LESS Getting MORE (DLGM) บจก. ทำน้อยได้มำก Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+ M/L: 095-624-2449
  • 17. 4 ขั้นตอนในการออกแบบเครือข่ายช่องทางการกระจายสินค้า รายละเอียดการ ออกแบบ เครือข่าย 01 การเลือก แบบจาลอง 02 ออกแบบ แบบจาลอง 03 นาไปใช้เพื่อ ยืนยันผลลัพธ์ 04 จากภาพใหญ่ไปเล็ก ตรวจสอบข้อจากัดต่างๆ นาข้อมูลทางสถิติมา เปรียบเทียบ สร้างตาราง เปรียบข้อดี ข้อเสีย วางเครือข่ายตามแบบ จาลอง เปรียบเทียบวิธี การ จากข้อมูลจริงอีกครั้ง นาข้อมูลเสนอผู้บริหาร เพื่อนาไปใช้งานจริง Copyright © 2015, all rights reserved. Doing LESS Getting MORE (DLGM) บจก. ทำน้อยได้มำก Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+ M/L: 095-624-2449
  • 18. 5 สิ่งที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบเครือข่ายช่องทางการกระจายสินค้า กลยุทธ์การ แข่งขัน ต้นทุนโลจิสติกส์ กฎระเบียบ ข้อกาหนดต่างๆ นโยบาย และ การเมือง สาธารณูปโภค ขั้นพื้นฐาน 18 Copyright © 2015, all rights reserved. Doing LESS Getting MORE (DLGM) บจก. ทำน้อยได้มำก Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+ M/L: 095-624-2449
  • 19. การจัดการต้นทุนรวมสาหรับการขนส่ง Copyright © 2015, all rights reserved. Doing LESS Getting MORE (DLGM) บจก. ทำน้อยได้มำก Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+ M/L: 095-624-2449 19 Eng.Siripong Jungthawan
  • 20. การบริหารต้นทุนการขนส่ง 20 การหาต้นทุนแต่ละตัว และ การวิเคราะห์งบการเงิน ต้นทุน และกระแสเงินสด (The Number) การวิเคราะห์ค่าใช้จ่าย (Spend Analysis) การหาวิธีการและมาตรการใน การลดต้นทุนและค่าใช้จ่าย (Action Plan) การสร้างกาไรเพิ่ม และ การพัฒนาแบบจาลองธุรกิจใหม่ๆ (Business Development) Copyright © 2015, all rights reserved. Doing LESS Getting MORE (DLGM) บจก. ทำน้อยได้มำก Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+ M/L: 095-624-2449
  • 21. หน้าที่ผู้นาที่จะต้อง วิเคราะห์และแปลงข้อมูล • ปรับมันให้เข้ากับยุทธศาสตร์ • หาเทคโนโลยีที่เหมาะสมมาใช้ • ระบุเรื่อง ปัญหา และ จัดลาดับ • สร้างแผนการแปลงสภาพ องค์กร Copyright © 2015, all rights reserved. Doing LESS Getting MORE (DLGM) บจก. ทำน้อยได้มำก Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+ M/L: 095-624-2449 21
  • 22. ต้นทุนรวมสาหรับการขนส่ง (Total Cost of Ownership: TCO) • ต้นทุนเริ่มต้น (Initial) ค่ารถบรรทุก • ต้นทุนดาเนินการ (Operation) • เงินเดือน และสวัสดิการ (Salary, Incentive) • ค่าเชื้อเพลิง (Fuel) • ค่าทางพิเศษ (Tolls) • ค่าปรับ (Penalty fee) • ค่าโสหุ้ย (Overhead cost) • ใบอนุญาต (License) • ค่าบารุงรักษา (Maintenance & Repair) • ยาง (Tyre) • น้ามันเครื่อง (Engine Oil) • การซ่อมใหญ่ (Overhaul) • อื่นๆ (Etc.) • ค่าประกันภัย (Insurance) • ต้นทุนการเสียโอกาส (Opportunity) • ค่าซาก (Salvage) Copyright © 2015, all rights reserved. Doing LESS Getting MORE (DLGM) บจก. ทำน้อยได้มำก Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+ M/L: 095-624-2449 22 ที่มา ดัดแปลงจาก American Transportation Research Institute (ATRI), 2022 TCO = I1 + O1 + M + I2 + O2 - S Eng.Siripong Jungthawan
  • 23. 8 ความสูญเปล่าในกิจกรรมโลจิสติกส์ • สินค้าคงคลัง (Inventory) ทุกประเภท เก็บเผื่อ ของขาด-เกิน ส่งผิด รุ่น ชนิด จานวน • การขนส่ง (Transportation) การขับขี่ ลมยาง ล้อยาง น้ามันเครื่อง แรงม้า เที่ยว เปล่า การเปลี่ยนโหมด Hub and Spoke, Nodes and Links, Milk Run, Backhauling • ระบบ (Systems) งานขั้นตอนต่างๆ การรอคอย ทาผิดพลาด เสียเวลา • งานธุรการ (Administration) ทางานเอกสาร สาเนาเยอะ • ลูกบาศก์ที่เก็บและขน (Cube) ขนอากาศ เรียงสินค้าไม่ดี เผื่อช่องเยอะ • บรรจุภัณฑ์ (Packaging) ไม่เหมาะสม ไม่เอื้อต่อการจัดการ ซ้อนวาง • เวลา (Time) การนัดหมาย ติดตามสถานะ การรอคอยขึ้นลงสินค้า • ความรู้ (Knowledge) ความคิดสร้างสรรค์ ของคนงานที่ไม่ได้นามาใช้ Copyright © 2015, all rights reserved. Doing LESS Getting MORE (DLGM) บจก. ทำน้อยได้มำก วศ.สิริพงศ์จึงถำวรรณ, บธ.ม., วศ.บ., ACPE, CSCP, EPPM M/L: 095-624-2449 E: L6SSCOR@GMAIL.COM 23
  • 25. การวิเคราะห์เชื้อเพลิง •ประเภทของเชื้อเพลง • น้ามัน • แก๊ส • ผสม • ไฟฟ้า • อื่นๆ 25 Copyright © 2015, all rights reserved. Doing LESS Getting MORE (DLGM) บจก. ทำน้อยได้มำก Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+ M/L: 095-624-2449
  • 26. ต้นน้า กลางน้า ปลายน้า •ซื้อจากปลายน้า •ซื้อจากกลางน้า •ซื้อจากต้นน้า 26 Copyright © 2015, all rights reserved. Doing LESS Getting MORE (DLGM) บจก. ทำน้อยได้มำก Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+ M/L: 095-624-2449
  • 27. 27 Copyright © 2015, all rights reserved. Doing LESS Getting MORE (DLGM) บจก. ทำน้อยได้มำก Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+ M/L: 095-624-2449
  • 28. แบรนด์ปั้มน้ามัน 28 Copyright © 2015, all rights reserved. Doing LESS Getting MORE (DLGM) บจก. ทำน้อยได้มำก Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+ M/L: 095-624-2449 Eng.Siripong Jungthawan
  • 29. ส่วนประกอบ ต้นทุนน้ามัน •ต้นทุนน้ามัน •ภาษีต่างๆ •กองทุนต่างๆ •ค่าการตลาด 29 Copyright © 2015, all rights reserved. Doing LESS Getting MORE (DLGM) บจก. ทำน้อยได้มำก Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+ M/L: 095-624-2449
  • 30. การวิเคราะห์น้ามัน • ชนิดของน้ามัน • เบนซิน • 91 • 95 • V Power • แก๊สโซฮอล์ (เบนซิน + เอทานอล) • E10 (เอทานอล 10%) • E20 (เอทานอล 20%) • E85 (เอทานอล 85%) • ดีเซล • ไบโอดีเซล • B7 • B10 • B20 30 Copyright © 2015, all rights reserved. Doing LESS Getting MORE (DLGM) บจก. ทำน้อยได้มำก Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+ M/L: 095-624-2449 Eng.Siripong Jungthawan
  • 31. ตัวอย่างโครงสร้างราคาน้ามันดีเซล 31 Copyright © 2015, all rights reserved. Doing LESS Getting MORE (DLGM) บจก. ทำน้อยได้มำก Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+ M/L: 095-624-2449
  • 32. Copyright © 2015, all rights reserved. Doing LESS Getting MORE (DLGM) บจก. ทำน้อยได้มำก Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+ M/L: 095-624-2449 32
  • 33. การวิเคราะห์แก๊ส • แก๊ส LPG ก๊าซหุงต้ม • จากกระบวนการแยกก๊าซธรรมชาติและขบวนการกลั่นน้ามัน • เป็นสารประกอบพวกไฮโดรคาร์บอน ประกอบด้วยก๊าซโปรเปน และบิวเทนเป็นส่วนประกอบหลัก • หนักกว่าอากาศประมาณ 1.5-2 เท่า ไม่มีสี ไม่มีกลิ่น ไม่เป็นพิษ • แก๊ส NGV ก๊าซธรรมชาติ • มีเทน เป็นส่วนประกอบหลักและถูกอัดจนมีความดันสูง ซึ่งถูกอัดที่แรงดัน 200 Bar หรือ 3000 PSI และถูกกักเก็บไว้ในถังบรรจุ • ก๊าซธรรมชาติอัดที่ถูกผลิตขึ้นมาเป็นพิเศษให้สามารถรองรับแรงดันได้ โดยมีสภาพเป็นก๊าซหรือไอที่อุณหภูมิและความดัน บรรยากาศ • ค่าความถ่วงจาเพาะต่ากว่าอากาศ เบากว่าอากาศ • เกิดการรั่วไหลจะฟุ้งกระจายไปตามบรรยากาศอย่างรวดเร็ว จึงมีการสะสมลุกไหม้บนพื้นราบ 33 Copyright © 2015, all rights reserved. Doing LESS Getting MORE (DLGM) บจก. ทำน้อยได้มำก Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+ M/L: 095-624-2449 Eng.Siripong Jungthawan
  • 34. การวิเคราะห์เชื้อเพลิง •ค่าใช้จ่ายเชื้อเพลิง (บาท/กม.) (กม./หน่วย) •ค่ามาตรฐาน (S) •ค่าเฉลี่ย (X) •ค่าที่ดีที่สุด (B) •ค่าเป้าหมาย (T) •ส่วนต่าง (กม./หน่วย, %) Copyright © 2015, all rights reserved. Doing LESS Getting MORE (DLGM) บจก. ทำน้อยได้มำก Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+ M/L: 095-624-2449 Eng.Siripong Jungthawan
  • 35. การวิเคราะห์เชื้อเพลิง •ราคาซื้อ •ซื้อปลีก •ซื้อส่ง (ลดได้ 20 – 50 สตางค์) •ใช้บัตร Fleet card (ลดได้ 20 – 50 สตางค์) •ทาปั้มของตนเอง (ลดได้ 1 – 4 บาท) 35 Copyright © 2015, all rights reserved. Doing LESS Getting MORE (DLGM) บจก. ทำน้อยได้มำก Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+ M/L: 095-624-2449
  • 36. บัตรเครดิตนิติบุคคล (Fleet Card) Copyright © 2015, all rights reserved. Doing LESS Getting MORE (DLGM) บจก. ทำน้อยได้มำก Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+ M/L: 095-624-2449 36 กาหนดชนิดน้ามัน สถานีเติมได้ ควบคุมค่าใช้จ่ายน้ามัน กาหนดวงเงินได้ 2 - 3 ล้าน เสริมสภาพคล่องให้ธุรกิจ 30 – 60 วัน โปร่งใส ตรวจสอบข้อมูลง่าย ผ่าน Website ช่วยบริหาร เพิ่มประสิทธิภาพบิลข้อมูลถูกต้อง ปลอดภัย เข้ารหัส ไม่ต้องพกเงินสด ลดโควิด Eng.Siripong Jungthawan
  • 37. Copyright © 2015, all rights reserved. Doing LESS Getting MORE (DLGM) บจก. ทำน้อยได้มำก Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+ M/L: 095-624-2449 37
  • 38. ค่าธรรมเนียม • ฟรีค่าธรรมเนียมแรกเข้าและค่าธรรมเนียมรายปีปีแรก • ค่าธรรมเนียมรายปีจานวน 300 บาท/บัตร/ปี • ค่าธรรมเนียมในการออกบัตรทดแทน • กรณีบัตรหาย หรือ บัตรชารุด จานวน 50 บาท/บัตร • กรณีชาระคืนบัญชีบัตรเครดิตล่าช้า เสียดอกเบี้ยใน อัตรา 16% ต่อปี Copyright © 2015, all rights reserved. Doing LESS Getting MORE (DLGM) บจก. ทำน้อยได้มำก Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+ M/L: 095-624-2449 38 Eng.Siripong Jungthawan
  • 39. คุณสมบัติผู้สมัครเบื้องต้น • ผู้สมัครต้องเป็นนิติบุคคลเท่านั้นและดาเนินธุรกิจมาอย่างน้อย 2 ปี • ไม่เคยเป็น NPL กับสถาบันการเงินใดๆในระยะ 1 ปีที่ผ่านมา นับจากวันที่ขอเครดิต และ ไม่อยู่ระหว่างถูกฟ้อง ร้องดาเนินคดี • มีกาไรจากการดาเนินงานในรอบบัญชี 2 ใน 3 ปีล่าสุดและรอบบัญชีล่าสุดโดยพิจารณา จากงบที่สะท้อน ความเป็นจริง • ส่วนของผู้ถือหุ้นเป็นบวก ธุรกิจมีกาไร (งบปีล่าสุด) • ลูกค้าต้องไม่ผิดเงื่อนไขของธนาคารฯ หรืออยู่ระหว่างกระบวนการถูกลด/คงวงเงินรวม • ธนาคารเป็นผู้กาหนดวงเงินรวม (Credit Line) ให้กับบริษัทโดยอยู่ในดุลยพินิจของ ธนาคาร Copyright © 2015, all rights reserved. Doing LESS Getting MORE (DLGM) บจก. ทำน้อยได้มำก Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+ M/L: 095-624-2449 39
  • 40. การ วิเคราะห์ เชื้อเพลิง • การจ่ายค่าเชื้อเพลิง • เงินสด • เครดิต • ส่วนลดต่างๆ 40 Copyright © 2015, all rights reserved. Doing LESS Getting MORE (DLGM) บจก. ทำน้อยได้มำก Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+ M/L: 095-624-2449 Eng.Siripong Jungthawan
  • 41. ส่วนลดจากบัตรเครดิต ได้เงินคืน ได้แต้ม ได้ของแถม 41 Copyright © 2015, all rights reserved. Doing LESS Getting MORE (DLGM) บจก. ทำน้อยได้มำก Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+ M/L: 095-624-2449
  • 42. เติมน้ามันผ่านบัตรเดรดิตดีอย่างไร • บัตรเครดิตเติมน้ามันส่วนมาก ไม่ต้องใช้ คะแนนเพื่อขอเงินคืน • สะดวกสบายแบบสังคมไร้เงินสด ปลอดโควิด • ได้รับคะแนนสะสมเพิ่ม • ได้เงินคืนรวดเร็ว • เงื่อนไขไม่ยุ่งยากเมื่อเติมน้ามัน ได้รับเงินคืน ทันทีอัตโนมัติ • บางธนาคารไม่ต้องลงทะเบียนให้เสียเวลา 42 Copyright © 2015, all rights reserved. Doing LESS Getting MORE (DLGM) บจก. ทำน้อยได้มำก Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+ M/L: 095-624-2449
  • 43. เทคนิคการลดต้นทุนเชื้อเพลิง Copyright © 2015, all rights reserved. Doing LESS Getting MORE (DLGM) บจก. ทำน้อยได้มำก Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+ M/L: 095-624-2449 43 แนวทางการลดค่าน้ามัน เทคนิคการขับรถ (Eco-driving) การซ่อมบารุงที่เหมาะสม การลดแรงต้านด้วยอุปกรณ์ (Aerodynamics) การใช้เทคโนโลยีต่างๆ (Technology) Eng.Siripong Jungthawan
  • 44. เทคนิคการขับรถ เพื่อให้ประหยัด (Eco-driving) Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+ M/L: 095-624-2449 Copyright © 2015, all rights reserved. Doing LESS Getting MORE (DLGM) บจก. ทำน้อยได้มำก 44 ที่มา Japan Environment Quarterly (JEQ), 10 Eco-Driving Tips, Ministry of the Environment, Government of Japan, 2014 • แรงม้าเครื่องยนต์ • น้าหนักที่เหมาะสม • เชื้อเพลิงที่เหมาะสม • ความเร็วที่เหมาะสม • ยาง/ลมยางที่เหมาะสม • การซ่อมบารุงที่เหมาะสม
  • 45. แรงม้าที่เหมาะสมกับ น้าหนักบรรทุก กาลัง (แรงม้า) (Power (hp)) = Weight (ton) x (10 ถึง 12) • บรรทุกสินค้าหนัก 12 ตัน ควรใช้รถที่มีแรงม้า • 12 x (10 ถึง 12) = 120 – 144 แรงม้า • บรรทุกสินค้า 40 ตัน ควรใช้รถทีมีแรงม้า • 40 x (10 ถึง 12) = 400 – 480 แรงม้า Copyright © 2015, all rights reserved. Doing LESS Getting MORE (DLGM) บจก. ทำน้อยได้มำก Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+ M/L: 095-624-2449 45 Eng.Siripong Jungthawan
  • 46. การซ่อมบารุง •ยาง •น้ามันเครื่อง •เครื่องยนต์ •อื่นๆ Copyright © 2015, all rights reserved. Doing LESS Getting MORE (DLGM) บจก. ทำน้อยได้มำก Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+ M/L: 095-624-2449 46 Eng.Siripong Jungthawan
  • 47. ยาง •แบรนด์ •ชนิดของยาง •การเติมลมยาง (bar หรือ psi) •อุปกรณ์ตรวจวัดลมยาง (TPMS) •การหล่อดอกยาง •การเปลี่ยนสลับยาง หน้า – หลัง Copyright © 2015, all rights reserved. Doing LESS Getting MORE (DLGM) บจก. ทำน้อยได้มำก Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+ M/L: 095-624-2449 47
  • 49. การดูสเปคยาง 195/65 R 15 91V แบบนี้จะเป็นยางรถยนต์นั่งทั่วไป • ความหมายของเลข 195 คือ ความกว้างของยาง (มม.) • 65 เป็นอัตราส่วนขนาดยาง (65%) ของความกว้างยาง • ตัว R เป็นโครงสร้างยางแบบเรเดียล ( ถ้า – หมายถึงยางแบบผ้าใบ) • เลข 15 เป็นเส้นผ่าศูนย์กลางกระทะล้อ (นิ้ว) • 91 เป็นดัชนีในการรับน้าหนัก (615 กก./เส้น) และขีดจากัดความเร็ว สูงสุดของยาง (แต่ละอักษรจะมีความเร็วแตกต่าง ซึ่ง V = ความเร็ว สูงสุด 240 กม./ชม.) Copyright © 2015, all rights reserved. Doing LESS Getting MORE (DLGM) บจก. ทำน้อยได้มำก Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+ M/L: 095-624-2449 49 Eng.Siripong Jungthawan
  • 50. โครงสร้างยาง • การผลิตยาง จะผลิตชิ้นส่วนแล้วนามารวมเป็นยางรถยนต์หนึ่งวง • ผ่าแบบหน้าตัดออกมาดูจึงจะเห็น • หน้ายางมีดอกยางแตกต่างกันไป • แบบสมมาตร (Symmetrical) หน้ายางจะมีดอกยางที่เหมือนกัน แบบ นี้จะทาให้รถมีความนุ่ม และสลับยางง่าย • แบบไม่สมมาตร(Asymmetrical) ที่ดอกยางจะแตกต่างกัน เน้นการ ขับขี่ประสิทธิภาพเฉพาะ และยึดเกาะถนนเหมาะกับการเข้าโค้ง ความเร็วสูง • แบบกาหนดทิศทางการหมุน (Uni-direction) ดอกยางจะมีลักษณะ หมุนหรือชี้ไปทิศทางเดียวกัน ทาให้มีการรีดน้า ควบคุมการทรงดี และ ขับขี่ความเร็วสูงได้ดี แต่จะยุ่งยากในการเปลี่ยน หรือสลับยาง ใส่ผิด ทิศไม่ได้เพราะส่งผลต่อการขับขี่ Copyright © 2015, all rights reserved. Doing LESS Getting MORE (DLGM) บจก. ทำน้อยได้มำก Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+ M/L: 095-624-2449 50
  • 51. ชนิดของยาง ยางผ้าใบ (Bias Tire) • นุ่มนวล การทรงตัวดี และทนทานต่อการสึกหรอ ยางเรเดียล (Radial Tire) • ให้ความนุ่มนวล ทรงตัวดี ทนต่อการสึกหรอสูง และหยุดได้อย่างมั่นใจ (ประหยัดกว่ายางธรรมดา ประมาณ 5 - 10%) ยางผสมซิลิก้า (Silica Tire) • เพิ่มสารซิลิก้าลดแรงต้านทาน ทาให้ประหยัด น้ามัน 10 – 20% Copyright © 2015, all rights reserved. Doing LESS Getting MORE (DLGM) บจก. ทำน้อยได้มำก Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+ M/L: 095-624-2449 51 Eng.Siripong Jungthawan
  • 54. ยางซิลิคอน ประหยัด Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+ M/L: 095-624-2449 Copyright © 2015, all rights reserved. Doing LESS Getting MORE (DLGM) บจก. ทำน้อยได้มำก 54 แรงต้านลดลง กินเนื้อยางน้อยลง เชื้อเพลิงจากการออกแรงน้อยลง เครื่องยนต์ทางานน้อยลง เงิน ต้นทุนต่อกิโลเมตรต่าลง
  • 55. ระยะเวลาคืนทุน • ปกติ รถยนต์ ใช้ยางธรรมาดา 4 เส้น 8,000 บาท • ถ้าใช้ยางประหยัดน้ามัน 12,000 บาท ค่าใช้จ่ายที่เพิ่มขึ้น 12,000 – 8,000 = 4,000 บาท ค่าใช้จ่ายที่ประหยัด • น้ามันจาก 2.50 บาท/กิโลเมตร จะเหลือ 2.00 บาท บาท/กิโลเมตร • 2.50 – 2.00 = 0.50 บาท หรือ 50 สตางค์ / กิโลเมตร • 4,000 / 0.50 = 8,000 กิโลเมตร • ถ้ายางวิ่งได้ 50,000 กิโลเมตร • 8,000 กิโลเมตรแรก ได้ค่ายางส่วนต่างที่แพงขึ้น 4,000 บาท คือ • คงเหลือ 50,000 – 8,000 = 42,000 กม. • ได้กาไรเพิ่ม 42,000 x 0.50 บาท = 21,000 บาท • กาไรเพิ่มจากการลดการใช้น้ามัน 25,000 บาท • ค่ายางที่จ่ายเพิ่ม 4,000 บาท • กาไรเพิ่ม 21,000 บาท • ถ้าวิ่งได้มากกว่านี้ก็ยิ่งคุ้ม ถ้าวิ่งได้ 100,000 กม. จะ กาไรอีก 25,000 บาท Copyright © 2015, all rights reserved. Doing LESS Getting MORE (DLGM) บจก. ทำน้อยได้มำก Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+ M/L: 095-624-2449 55
  • 56. 80% ของผู้ขับขี่รถไม่รู้ว่าควรเติมลมยางเท่าไร Copyright © 2015, all rights reserved. Doing LESS Getting MORE (DLGM) บจก. ทำน้อยได้มำก Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+ M/L: 095-624-2449 56 Eng.Siripong Jungthawan
  • 57. การเติมลมยาง Copyright © 2015, all rights reserved. Doing LESS Getting MORE (DLGM) บจก. ทำน้อยได้มำก Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+ M/L: 095-624-2449 57 มาตรวัดลมยาง (Bar หรือ psi) อุณหภูมิของยาง (องศาเซลเซียส) เต็มลมตอนยางเย็นตัว เติมลมทุกล้อให้เท่ากัน/ ส่วนบรรทุกให้มากกว่า เช็คลมยางทุกสัปดาห์ หรือติดเซนเซอร์
  • 58. จุดที่แรงดันลมยางเกิด การรั่วได้ •A ทะลุผ่านเนื้อยาง •B ผ่านโครงสร้างยาง •C จุกลมยาง •D ขอบล้อกับตัวยาง Copyright © 2015, all rights reserved. Doing LESS Getting MORE (DLGM) บจก. ทำน้อยได้มำก Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+ M/L: 095-624-2449 58 ที่มา Variation in inflation pressure, 2022 https://business.michelin.co.uk/help-advice/the-right-pressure Eng.Siripong Jungthawan
  • 59. เพิ่มความถี่ในการตรวจเช็คลมยางให้มากกว่าปกติ ในช่วง 3,000 กิโลเมตร แรก เนื่องจากโครงสร้างยางในช่วงนี้จะมีการขยายตัว ทาให้ความดันลมยาง ลดลง และเพื่อป้องกันลมรั่วซึมที่วาล์ว และแกนวาล์ว ทุกครั้งที่เปลี่ยนยาง ใหม่และมีฝาปิดวาล์วตลอดเวลา กรณียางใหม่ Copyright © 2015, all rights reserved. Doing LESS Getting MORE (DLGM) บจก. ทำน้อยได้มำก Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+ M/L: 095-624-2449 59
  • 60. ประโยชน์ของลมยางที่เหมาะสม Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+ M/L: 095-624-2449 Copyright © 2015, all rights reserved. Doing LESS Getting MORE (DLGM) บจก. ทำน้อยได้มำก 60 ปลอดภัย (Safe) ความเชื่อมั่นสูง (Reliable) ประหยัดเงิน (Economical) สะดวกสบาย (Comfortable)
  • 61. ยางเป็นจุดสัมผัสเดียวระหว่างรถกับถนน Tires are the only point of contact between your vehicle and the road. Copyright © 2015, all rights reserved. Doing LESS Getting MORE (DLGM) บจก. ทำน้อยได้มำก Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+ M/L: 095-624-2449 61 Eng.Siripong Jungthawan
  • 62. ลมยางน้อย พอดี หรือมากเกินไป Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+ M/L: 095-624-2449 • ลมยางน้อยหรืออ่อนเกินไป จะทาให้ ยางสึกบริเวณไหล่ยาง ทาให้โครงยาง บริเวณแก้มยางฉีกขาดหรือหักได้ และมี การสิ้นเปลืองน้ามันเชื้อเพลิง • ลมยางมากไป จะทาให้เกิดการลื่นไถล ได้ง่าย จากพื้นที่การเกาะถนนลดลง โครงยางระเบิดได้ง่ายเมื่อเกิดการ กระแทก หรือถูกตา จากการยึดหยุ่นได้ น้อย อายุยางลดลง และความนุ่มนวล ในขณะขับขี่ลดลง โดยลักษณะยางจะ สึกบริเวณกลางหน้ายาง • ลมที่เหมาะสมหน้ายางจะมีการสึก สม่าเสมอ แต่กรณีรถที่ขับระยะทางไกล ด้วยความเร็วสูง ให้เติมลมยางมากกว่า ปกติ 3-5 ปอนด์ เพื่อการคืนตัวของยาง จะเร็วขึ้น และไม่เสียรูปทรงยาง ทาให้มี อายุการใช้งานนานด้วย Copyright © 2015, all rights reserved. Doing LESS Getting MORE (DLGM) บจก. ทำน้อยได้มำก 62 อ่อน พอดี แข็ง สึกชอบๆ สึกพอดี สึกตรงกลาง
  • 63. ยางเส้นนี้ควรเติม ลมยางเท่าไร ? •ถามช่าง •ดูตามคู่มือข้างรถ •ถามเพื่อนๆ •ดูหน้ายาง Copyright © 2015, all rights reserved. Doing LESS Getting MORE (DLGM) บจก. ทำน้อยได้มำก Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+ M/L: 095-624-2449 63
  • 64. ยางอ่อนทาให้กิน น้ามันมากขึ้น • ยางอ่อนกว่าที่กาหนด 22 psi กินน้ามันเพิ่ม 1 - 3% • ตัวอย่าง ลมยาง 123 psi เติมที่ 101 psi กินน้ามันเพิ่ม 1% (ต่ากว่าที่กาหนด 18%) Copyright © 2015, all rights reserved. Doing LESS Getting MORE (DLGM) บจก. ทำน้อยได้มำก Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+ M/L: 095-624-2449 64 ที่มา Impact of Tire Pressure on Fuel Consumption, 2022 business.michelinman.com/tips-suggestions/the-right-pressure
  • 65. ผลกระทบของแรงดันลมยางต่อระยะทาง ลมยางหายไป 22 psi ทาให้วิ่งได้ระยะทางน้อยลง 10% Copyright © 2015, all rights reserved. Doing LESS Getting MORE (DLGM) บจก. ทำน้อยได้มำก Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+ M/L: 095-624-2449 65 ที่มา Impact of Tire Pressure on Mileage business.michelinman.com/tips-suggestions/the-right-pressure ยางอ่อนเกิน ยิ่งกินเนื้อยาง และน้ามัน เพราะรับแรงต้าน เยอะ โดนเต็มหน้า Eng.Siripong Jungthawan
  • 66. ต้องเติมลมยางเท่าไหร ? Copyright © 2015, all rights reserved. Doing LESS Getting MORE (DLGM) บจก. ทำน้อยได้มำก Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+ M/L: 095-624-2449 66 Eng.Siripong Jungthawan 123 psi
  • 67. หลักการง่ายๆ ในการปรับเพิ่ม - ลดลมยาง • โครงสร้างยางคงรูป แข็งแรง สามารถ บรรทุกของหนักได้ • การขับขี่กระด้างกว่าลมยางอ่อน • ความร้อนสะสมน้อย เหมาะวิ่งทางไกล • ประหยัดน้ามัน • วิ่งทางตรงทาความเร็วได้ง่ายกว่า • ยางหมดช้ากว่า • ทาการเซาะร่อง หล่อดอกยางได้ดีกว่า ลมยางแข็ง Copyright © 2015, all rights reserved. Doing LESS Getting MORE (DLGM) บจก. ทำน้อยได้มำก Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+ M/L: 095-624-2449 67 • โครงสร้างยางห้อยตัวได้มากกว่า เพิ่มหน้าสัมผัส ของยางกับพื้นถนน (เกาะถนนมากกว่า) • นุ่มนวล • ความร้อนสะสมมาก • เปลืองน้ามันมากกว่าลมยางแข็ง • เหมาะกับทางโค้งเลี้ยวเยอะ • ยางหมดไวกว่า ลมยางอ่อน
  • 68. Copyright © 2015, all rights reserved. Doing LESS Getting MORE (DLGM) บจก. ทำน้อยได้มำก Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+ M/L: 095-624-2449 68 ที่มา 4 ลักษณะยาง สึกหรอผิดปกติ, 2565 www.yellowtire.com
  • 69. วิธีการแก้ไข ต้องหมั่นสังเกตยางๆ บ่อย •สึกด้านเดียว - ศูนย์ล้อไม่ถูกต้อง ล้อเสียสมดุล ไม่ได้สลับล้อตามระยะที่กาหนด •สึกที่ไหล่ยางสองข้าง - ลมยางมากเกินไป ประกอบยางเข้ากับกระทะล้อไม่ดี ไม่ สลับยางตามระยะ •ตรงกลางสึกเยอะสุด - ลมยางน้อยเกินไป ประกอบยางเข้ากับกระทะล้อไม่ดี ไม่ สลับยางตามระยะ •สึกเป็นคลื่นๆ เป็นจ้าๆ เป็นหลายๆ จุด รอบเส้น - รองรับน้าหนักไม่สมบูรณ์เต็ม หน้า เพลาคด แบริ่งหลวม กะทะล้อเบี้ยว ไม่สลับยางตามระยะ Copyright © 2015, all rights reserved. Doing LESS Getting MORE (DLGM) บจก. ทำน้อยได้มำก Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+ M/L: 095-624-2449 69
  • 70. ถ้าดอกยางสึกเพียงด้านเดียว ให้เช็ค Camber • การสึกที่ขอบยางเพียงด้านใด อาจเกิดจากการปรับแต่งที่ผิดค่ามาตรฐานที่กาหนดไว้ • การโหลดเตี้ย หรือยกสูง ซึ่งการโหลดเตี้ยนั่นยางจะสึกขอบยางด้านในมากกว่าด้าน นอก เนื่องมุมแคมเบอร์ของล้อมีองศาเปลี่ยนไป ทาให้ล้อแบะและยางด้านในจะถูกกด ทับมากกว่าด้านนอก เป็นที่มาว่าทาไมขอบยางด้านในถึงมีการสึกมากกว่าส่วนอื่น สามารถปรับแก้ได้โดยการติดตั้งปีกนกแบบปรับมุมแคมเบอร์ได้ หรือหากท่านไม่อยาก ติดตั้งอุปกรณ์เสริมเพิ่มเติม • สลับยางให้บ่อยขึ้น โดยสลับยางด้านในกลับมาไว้ด้านนอกกรณียางของท่านเป็นยาง แบบไร้ทิศทางก็สามารถกลับหน้ายางได้เลย • แต่หากยางของท่านเป็นยางแบบมีทิศทาง คือใช้วิ่งทางเดียว กรณีนี้จะไม่สามารถ กลับหน้ายางได้ เนื่องจากยางถูกออกแบบมาให้ใช้ทิศทางที่กาหนดไว้ หากมีการกลับ หน้ายางให้สวนทางกลับทิศทางของยาง อาจก่อให้เกิดเสียงรบกวน และยังลด ประสิทธิภาพการทางานของยางลงจากที่ออกแบบไว้อีกด้วย ส่วนการยกสูงก็จะทาให้ ดอกยางสึกขอบยางด้านนอกนั่นเอง Copyright © 2015, all rights reserved. Doing LESS Getting MORE (DLGM) บจก. ทำน้อยได้มำก Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+ M/L: 095-624-2449 70
  • 71. ถ้าดอกยางสึกไม่เท่ากัน ให้ตรวจสอบระบบช่วงล่าง • ยางรถของท่านมีอาการดอกยางสึกไม่เท่ากัน ดอกยางสึกเป็นบั้ง เว้นบั้น หรือสึกเป็นก้อนๆ ไม่สม่าเสมอ • อาจไม่ได้เกิดจากคุณภาพของยางไม่ดีแต่อย่างใด • ให้ตรวจสอบประสิทธิภาพการทางานของช่วงล่างรถ • พบมากในรถที่ช่วงล่างเป็นปีกนก สาเหตุเกิดการเสื่อมของบูชปี กนก ลูกหมาก ยางหุ้มบูชต่างๆ เสื่อมสภาพ ทาให้ปีกนกคลอน ไม่แน่น • เซ็นเตอร์ของมุมล้อขยับเมื่อเกิดการกระแทก ทาให้ยางกินดอก ยางไม่สม่าเสมอขณะใช้งาน ลักษณดอกยางจึงมีการสึกเป็นบั้งได้ • อย่าลืมเช็คลูกปืนล้อว่ามีการชารุดหรือไม่ หากลูกปืนล้อชารูด ส่งผลให้จังหวะการหมุนของล้อไม่เท่ากัน รวมไปถึงโช้คอัพ ก็ทา ให้เกิดอาการดอกยางสึกไม่เท่ากันได้ Copyright © 2015, all rights reserved. Doing LESS Getting MORE (DLGM) บจก. ทำน้อยได้มำก Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+ M/L: 095-624-2449 71 ที่มา สาเหตุที่ทาให้ดอกยางสึกไม่เท่ากัน tiretruckintertrade.blogspot.com/2014/09/blog-post.html
  • 72. ยางระเบิด • ถ้าเกิดยางระเบิด ให้ตั้งสติให้ดี จับพวงมาลัยให้มั่น แตะเบรก เบาๆ ถี่ๆ ลดความเร็วลง ให้รถหยุดได้ • สาเหตุหลักที่ส่งผลให้รถยางระเบิด มีดังนี้ 1. หมดอายุการใช้งาน สังเกต จาก ยางมีรอยแตก บวม ดอกยาง เรียบ แบน 2. ใช้งานเกินความสามารถ ยางแต่ละเส้นเมื่อใช้ไปนานๆ ความสามารถก็จะลดลงไปตามกาลเวลา ควรเช็กพิกัดความเร็ว สูงสุดของยางรถยนต์ 3. เลือกขนาดยางไม่เหมาะสมกับล้อ 4. ยางรถยนต์ร้อนจัด สาเหตุจากการสูบลมยางอ่อนแล้ววิ่งทางไกล ทาให้เกิดความร้อนสะสม ส่งผลให้ยางยุบตัวและเสียรูป 5. เติมลมยางไม่ถูกต้อง เป็นข้อที่ต่อเนื่องจากข้อ 4 หากผู้ใช้งานเติม ความดันลมยางอ่อนหรือแข็งเกินไป ประสิทธิภาพก็จะลงลง 6. แก้มยางเสียดสีกับขอบถนน Copyright © 2015, all rights reserved. Doing LESS Getting MORE (DLGM) บจก. ทำน้อยได้มำก Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+ M/L: 095-624-2449 72
  • 73. สลับยางรถยนต์ • รถทั่วไปควรสลับยางทุกๆ 10,000 กิโลเมตร • รถขับเคลื่อนสี่ล้อให้สลับ ยางทุกๆ 5,000 กิโลเมตร • รถแต่ละประเภทจะมีการ สึกหรอแตกต่างกัน ขึ้นอยู่ กับการใช้งานด้วย Copyright © 2015, all rights reserved. Doing LESS Getting MORE (DLGM) บจก. ทำน้อยได้มำก Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+ M/L: 095-624-2449 73
  • 74. การสลับล้อยาง •ยางเรเดียลจะสลับทุกๆ ระยะทาง 10,000 กิโลเมตร •ยางผ้าใบจะประมาณ 5,000 กิโลเมตร Copyright © 2015, all rights reserved. Doing LESS Getting MORE (DLGM) บจก. ทำน้อยได้มำก Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+ M/L: 095-624-2449 74
  • 75. ชนิดของดอกยาง •ดอกละเอียด (RIB PATTERN) •ดอกบั้ง (LUG PATTERN) •ดอกผสม (RIB-LUG PATTERN) •ดอกบล็อก (BLOCK) Copyright © 2015, all rights reserved. Doing LESS Getting MORE (DLGM) บจก. ทำน้อยได้มำก Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+ M/L: 095-624-2449 75 ที่มา การเลือกใช้ดอกยางรถบรรทุก tiretruckcenterthai.blogspot.com
  • 76. 4 ชนิดดอกยาง ชนิดของดอก ลักษณะดอก ข้อเด่น ประเภทรถ ดอกละเอียด (RIB PATTERN) ลายดอกและร่องที่คดโค้งหรือ เป็นเหลี่ยม เป็นแถวยาวตาม เส้นรอบวงของยาง อีกทั้งดอก หรือร่องยางที่ตื้น ช่วยในการระบายความร้อน เกาะถนนได้ดี ขับขี่บังคับเลี้ยว ได้ง่าย ป้องกันการลื่นไถลออก ด้านข้างได้ดีเยี่ยม รถโดยสาร ดอกบั้ง (LUG PATTERN) ลายดอกและร่องยางเป็นแนว ขวางกับเส้นรอบวงของยาง โดยร่องยางจะมีความลึก เนื้อ ยางมีมาก เวลารถเคลื่อนจะเกิดแรงกรุย สูง และมีอายุการใช้งาน ทนทานกว่าดอกยางแบบอื่นๆ รถบรรทุกขนาดใหญ่ (ล้อหลัง) รถเทรลเลอร์ รถจิ๊ป รถโฟล์ คลิฟท์ หรือรถที่วิ่งในอัตรา ความเร็วปานกลางจนถึงต่า Copyright © 2015, all rights reserved. Doing LESS Getting MORE (DLGM) บจก. ทำน้อยได้มำก Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+ M/L: 095-624-2449 76
  • 77. 4 ชนิดดอกยาง ชนิดของดอก ลักษณะดอก ข้อเด่น ประเภทรถ ดอกผสม (MIX, RIB-LUG PATTERN) หน้าตาสมชื่อ ซึ่งส่วนมากตรงกลาง ของหน้ายางจะมีลายแบบยางดอก ละเอียด แต่ด้านซ้ายขวาเป็นลายดอก บั้ง วิศวกรออกแบบมาโดยรวมจุดดีของ ยางดอกละเอียดกับยางดอกบั้งไว้ ด้วยกัน จึงทั้งเกาะถนน ป้องกันรถ ไถลออกด้านข้าง และมีแรงกรุยดี นามาใช้ได้ทั้งล้อหน้าและล้อหลัง วิ่ง บนทางขรุขระหรือลาดยางก็ได้ เหมาะกับรถที่วิ่งด้วยความเร็วปาน กลาง เช่น รถบรรทุก รถเทรลเลอร์ หรือรถโฟล์คลิฟท์ มีการใช้งานแบบ สลับกันทั้งบนถนนทางเรียบลาดยาง และทางขรุขระ ดอกบล็อก (BLOCK) ยางเป็นก้อนเหลี่ยมหรือโค้งมน เรียง ตัวกันคล้ายอิฐบล็อกปูทางเดิน แต่จะ มีช่องว่างระหว่างบล็อก ซึ่งถ้ามอง ตามเส้นรอบวงของยาง จะเห็นร่อง เหมือนกับยางดอกละเอียด เหมาะที่จะใช้กับทุกสภาพถนน ไม่ว่า จะเป็นหาดทราย หรือ ทะเลทราย ลุย โคลน กระทั่งบนหิมะ มีสมรรถนะ เกาะถนนได้ดีมาก ไม่เว้นแม้ถนน เปียก และยังมีแรงกรุยสูง ผู้ขับขี่ บังคับเลี้ยวหยุดรถได้ง่าย รถดัมถ์ หรือรถออฟโรด หรือใช้กับ ยางเรเดียลที่ใช้ความเร็วสูง โดยเฉพาะรถเก๋ง Copyright © 2015, all rights reserved. Doing LESS Getting MORE (DLGM) บจก. ทำน้อยได้มำก Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+ M/L: 095-624-2449 77
  • 78. ความลึกร่องดอกยาง • ดอกยางจะลดพื้นที่ของยางในการสัมผัสกับผิวถนน • มีบทบาทสาคัญในการรีดน้าออกจากหน้ายาง เพื่อให้ยางสามารถยึดเกาะถนน ที่เปียกได้ดียิ่งขึ้น • ช่วยการหยุดรถ เลี้ยว เร่งความเร็ว หรือเข้าโค้ง • ยางใหม่มีความลึกกว่า จะสามารถรีดน้าได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุดผ่านทาง ร่องยางต่าง ๆ • ขณะที่คุณขับรถ แรงเสียดทานกับพื้นถนนจะทาให้ยางสึกหรอ ความลึกของ ดอกยางลดลง ซึ่งส่งผลให้ยางลดประสิทธิภาพการรีดน้า • ความลึกของร่องดอกยางต่า จะเพิ่มความเสี่ยงต่อการไถลบนพื้นเปียกหรือการ เหินน้า • การตรวจสอบความลึกของร่องดอกยางเป็นไปตามมาตรฐานความปลอดภัยที่ แนะนา ใช้เครื่องวัดความลึกร่องดอกยาง ซื้อได้ตามร้านขายอุปกรณ์ตกแต่ง รถยนต์ • สังเกตได้จากแถบสะพานยางซึ่งเป็นตัวชี้วัดค่า 1.6 มิลลิเมตร Copyright © 2015, all rights reserved. Doing LESS Getting MORE (DLGM) บจก. ทำน้อยได้มำก Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+ M/L: 095-624-2449 78 ภาพจาก www.bridgestone.co.th/th/tire-clinic/tire-talk/when-to-replace-your-tyres
  • 79. การเซาะร่องยาง (Regroove) Copyright © 2015, all rights reserved. Doing LESS Getting MORE (DLGM) บจก. ทำน้อยได้มำก Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+ M/L: 095-624-2449 79 • ลดต้นทุนได้ 10% • ยางวิ่งได้ระยะทางเพิ่มขึ้น 25% • ยางที่เซาะร่อง 4 เส้น จะผลิตยางใหม่ได้ 1 เส้น ประมาณ 70 กิโลกรัม • ประหยัดน้ามันได้ 2 ลิตร ต่อ 100 กิโลเมตร • เพิ่มสมรรถนะการยึดเกาะถนน จึงปลอดภัยกว่า • ลดการปล่อยก๊าซคาร์บอนได้ออกไซด์ ที่มา Guide to Tyre Management on Heavy Vehicles, Tyre Industry Federation, 2016. Guide to tyre management and maintenance on heavy vehicles, British Tyre Manufacturers Association (BTMA), 2020 Eng.Siripong Jungthawan
  • 80. ยางที่ออกแบบมาให้ เซาะร่องดอกยางได้ (REGROOVABLE) • ต้องดูสเปคยาง • ใช้ไปถึงระยะดอกคงเหลือ 3 - 4 มม. • ส่งไปเซาะร่องดอกยาง Copyright © 2015, all rights reserved. Doing LESS Getting MORE (DLGM) บจก. ทำน้อยได้มำก Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+ M/L: 095-624-2449 80 Eng.Siripong Jungthawan
  • 81. เทคนิคการหล่อดอกยาง (Retread) Copyright © 2015, all rights reserved. Doing LESS Getting MORE (DLGM) บจก. ทำน้อยได้มำก Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+ M/L: 095-624-2449 81 ที่มา ยางหล่อดอกคืออะไร www.kitkarnyang.com •ยางหล่อดอกสามารถช่วยลดต้นทุนได้มาก •ต้นทุนยางหล่อดอกจะต่ากว่ายางใหม่ 30 - 50% •สมรรถนะในการขับขี่, ความเร็ว, ความนุ่มนวล และความปลอดภัยเทียบเท่ากับยางใหม่ •ยางที่จะนามาหล่อใหม่ควรมีความลึกดอกยาง คงเหลือประมาณ 3 มม. และโครงยางไม่มี บาดแผลใดๆ
  • 82. แนวทางทั้ง 4 Copyright © 2015, all rights reserved. Doing LESS Getting MORE (DLGM) บจก. ทำน้อยได้มำก Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+ M/L: 095-624-2449 82 ยางใหม่ ยางใหม่ ซ่อร่อง หล่อดอก 1 ครั้ง ยางใหม่ หล่อดอก 2 ครั้ง *ยางใหม่ ซ่อร่อง หล่อดอก 2 ครั้ง
  • 83. การเปรียบเทียบดอกยาง เพื่อลดแรงต้านล้อ •ลองเลือกหน้าหล่อดอกยางใหม่ได้ที่ •www.michelintruck.com/tools/ rolling-resistance-comparison Copyright © 2015, all rights reserved. Doing LESS Getting MORE (DLGM) บจก. ทำน้อยได้มำก Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+ M/L: 095-624-2449 83 Eng.Siripong Jungthawan
  • 84. ตาแหน่งการเปลี่ยนยางที่แนะนา (REMIX) Copyright © 2015, all rights reserved. Doing LESS Getting MORE (DLGM) บจก. ทำน้อยได้มำก Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+ M/L: 095-624-2449 84 • ยางใหม่ (NEW) • ยางเซาะร่อง (REGROOVE) • ยางหล่อดอก (RETREAD)
  • 85. การหล่อดอกยาง •ต้นทุนการหล่อ 40% ของยางใหม่ •ใช้วิ่งได้ระยะทางมากกว่าเดิม 2 - 5 เท่า จาก 100,000 เป็น 500,000 กม. •การหล่อยาง 1 เส้น ประหยัดยางได้ประมาณ 50 กิโลกรัม •ดอกที่หล่อคิดเป็น 20 กิโลกรัมเท่านั้น •เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันในธุรกิจ Copyright © 2015, all rights reserved. Doing LESS Getting MORE (DLGM) บจก. ทำน้อยได้มำก Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+ M/L: 095-624-2449 85 Eng.Siripong Jungthawan
  • 86. การคานวณน้ามัน และระยะทาง • สามารถเข้าไปคานวณได้ที่ • www.michelintruck.com/ tools/fuel-savings-calculator/#/ Copyright © 2015, all rights reserved. Doing LESS Getting MORE (DLGM) บจก. ทำน้อยได้มำก Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+ M/L: 095-624-2449 86 ที่มา FUEL & MILEAGE CALCULATOR www.michelintruck.com/tools/fuel-savings-calculator/#/ Eng.Siripong Jungthawan
  • 87. การตรวจสอบ และการจัดทา รายงาน ประวัติยาง Copyright © 2015, all rights reserved. Doing LESS Getting MORE (DLGM) บจก. ทำน้อยได้มำก Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+ M/L: 095-624-2449 87 สภาพยาง อายุของยาง ความลึกร่องดอกยาง การถ่วงล้อ โครงสร้างยาง การตั้งศูนย์ การสลับยาง การหล่อดอกยาง ประวัติยาง ประสิทธิภาพยาง (บาท/กม.) (Tire cost of ownership)
  • 88. การตรวจสอบประจาวันของพนักงานขับรถ ❑ ยาง ❑ ความดัน ❑ หน้ายาง ❑ ความเสียหาย ❑ สิ่งแปลกปลอม Copyright © 2015, all rights reserved. Doing LESS Getting MORE (DLGM) บจก. ทำน้อยได้มำก Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+ M/L: 095-624-2449 88 ที่มา Driver Walkaround Visual Checks, British Tyre Manufacturers Association (BTMA), 2020 Guide to Tyre Management on Heavy Vehicles, Tyre Industry Federation, 2016. Guide to tyre management and maintenance on heavy vehicles, British Tyre Manufacturers Association (BTMA), 2020
  • 89. น้ามันเครื่อง Copyright © 2015, all rights reserved. Doing LESS Getting MORE (DLGM) บจก. ทำน้อยได้มำก Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+ M/L: 095-624-2449 89 แบรนด์ ประเภทของน้ามัน ธรรมดา กึ่งสังเคราะห์ สังเคราะห์ สเปค เบอร์ความหนืด ตามมาตรฐาน ราคา และความคุ้มค่า อายุการใช้งานตามระยะทาง หรือ ระยะเวลา
  • 90. ตัวเลขทั้ง 2 ค่า มีประโยชน์อย่างไร • ตัวเลขหน้า (0W – 20W) ขณะน้ามันเครื่องเย็น มีประโยชน์ในการไหลเร็ว เพื่อลด การสึกหรอลดความร้อนจากการเสียดสีของชิ้นส่วน เบอร์น้อยฟิล์มบางไหลเร็ว มาก ฟิล์มหนาไหลช้า • ตัวเลขหลัง (30 – 50) ขณะน้ามันเครื่องร้อน มีประโยชน์ในการลดช่องว่างและการ รับแรงเสียดสี การตัดเฉือนจากการเคลื่อนที่ของชิ้นส่วนต่างๆ เลือกจากปัจจัยสาคัญ นี้ คือ สภาพความสมบูรณ์ของเครื่องยนต์ และ ลักษณะการใช้งาน Copyright © 2015, all rights reserved. Doing LESS Getting MORE (DLGM) บจก. ทำน้อยได้มำก Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+ M/L: 095-624-2449 90
  • 91. ชื่อหน่วยงานต่างๆ •สถาบันปิโตรเลียมแห่งสหรัฐอเมริกา (American Petroleum Institute: API) •สมาคมการทดสอบและวัสดุแห่งสหรัฐอเมริกา (American Society for Testing and Materials: ASTM ) •สถาบันทางทหารของสหรัฐอเมริกา (US MILITARY CLASSIFICATION) •สมาคมวิศวกรรมยานยนต์ (The Society of Automotive Engineers: SAE) Copyright © 2015, all rights reserved. Doing LESS Getting MORE (DLGM) บจก. ทำน้อยได้มำก Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+ M/L: 095-624-2449 91
  • 92. การเปรียบเทียบการเปลี่ยนถ่ายน้ามันเครื่อง ก่อน หลัง แตกต่าง ชนิดน้ามันเครื่อง น้ามันเครื่อง 15W - 40 สังเคราะห์ ระยะทาง (กม.) 20,000 100,000 80,000 ระยะทาง 100,000 กม. เข้าเปลี่ยน น้ามัน (ครั้ง) 5 1 4 ต้นทุน (บาท) น้ามันเครื่อง ชุดกรอง 12,000 – 20,000 บาท/ ต่อถัง 200 ลิตร ต้นทุน X บาท Y Y – X = บาท รายได้เสียโอกาส ประมาณ ค่าบริการขนส่ง 5,000 บ/เที่ยว 5 วัน x 5,000 = 25,000 บาท 1 วัน x 5,000 บาท = 5,000 บาท 25,000 – 5,000 = 20,000 บาท ถ้ามีรถ 10 คัน 20,000 x 10 = 200,000 บาท ถ้ามีรถ 50 คัน 20,000 x 50 = 1,000,000 บาท ถ้ามีรถ 100 คัน 20,000 x 100 = 2,000,000 บาท Copyright © 2015, all rights reserved. Doing LESS Getting MORE (DLGM) บจก. ทำน้อยได้มำก Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+ M/L: 095-624-2449 92
  • 93. เครื่องยนต์ และระบบต่างๆ Copyright © 2015, all rights reserved. Doing LESS Getting MORE (DLGM) บจก. ทำน้อยได้มำก Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+ M/L: 095-624-2449 93 เครื่องยนต์ ระบบส่งกาลัง ระบบน้ามัน ระบบแอร์ ระบบความเย็น (สาหรับห้องเย็น หรือตู้เย็น) ระบบไฟฟ้า ระบบรถพ่วง หัวและหางลาก Eng.Siripong Jungthawan
  • 94. เส้นทางในการวิ่ง (Route) วางแผนเส้นทาง การวิ่ง ใช้ระบบนาทาง (Navigator) การลงของให้ได้หลายๆ ที่ (Multi drops) การบรรทุกให้เติมคัน (FTL / LTL) การวิ่งเที่ยวเปล่า (Backhauling) การวิ่งครั้งเดียวรับส่ง ได้หมด (Milk Run) Copyright © 2015, all rights reserved. Doing LESS Getting MORE (DLGM) บจก. ทำน้อยได้มำก Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+ M/L: 095-624-2449 94
  • 95. การเตรียมตัวเบื้องต้นเพื่อความปลอดภัยของผู้ขับขี่ Copyright © 2015, all rights reserved. Doing LESS Getting MORE (DLGM) บจก. ทำน้อยได้มำก Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+ M/L: 095-624-2449 95 ปรับเก้าอี้ และ กระจกให้เรียบร้อย คาดเข็มขัดนิรภัยทุก ครั้ง ถ้ามีอาการเหนื่อย ล้า ง่วง หรือเบลอ ให้จอดรถพักทันที ไม่ทานยาที่ทาให้ ง่วงนอน เช่น ยาแก้ แพ้ นอนหลับพักผ่อนให้ เพียงพอ ไม่ใช้สารเสพติดทุก ชนิด ไม่ใช้โทรศัพท์มือถือ ขณะขับรถ เว้นระยะห่างจากรถ คันหน้าให้เหมาะสม รักษาความเร็วให้ เหมาะสม ไม่ขับเร็วกว่า ความเร็วที่กาหนดไว้ สังเกตรอบๆ ตัว ตลอดเวลา ระมัดระวังจุดบอด เสมอ ใช้สัญญาณไฟต่างๆ ให้เหมาะสม
  • 96. การจัดเรียงสินค้าให้ปลอดภัย Copyright © 2015, all rights reserved. Doing LESS Getting MORE (DLGM) บจก. ทำน้อยได้มำก Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+ M/L: 095-624-2449 96 • วางใกล้ฝั่งหัวลาก • วางสินค้าตรงกลางเพื่อให้เกิดการ กระจายน้าหนักให้เท่ากัน • ไม่วางสินค้าสูงจนเกินไป • ใช้แท่นรองรับน้าหนักให้สมดุล • ผูกมัดชิ้นงานให้แน่นๆ • ไม่วางสินค้ายื่นออกมานอกตัวรถ จนมากเกินไป
  • 97. จุดบอดของรถบรรทุกที่มีความเสี่ยง •ด้านขวามือ เตี้ยกว่ากระจกมองข้าง •ด้านหน้า เบรกแตก •ด้านซ้าย มุมต่าวิสัยทัศน์แคบ มองไม่เห็น •ด้านหลัง คนขับมองไม่เห็นด้านหลังรถ Copyright © 2015, all rights reserved. Doing LESS Getting MORE (DLGM) บจก. ทำน้อยได้มำก Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+ M/L: 095-624-2449 97
  • 98. ประกันภัยรถ Copyright © 2015, all rights reserved. Doing LESS Getting MORE (DLGM) บจก. ทำน้อยได้มำก Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+ M/L: 095-624-2449 98 ที่มา ประกันภัยรถยนต์ภาคสมัครใจ สาหรับรถบรรทุก, 2565 www.tidlor.com Eng.Siripong Jungthawan
  • 100. การลดแรงต้านด้วยอุปกรณ์ (Aerodynamics) ทาให้ประหยัด น้ามันสูงถึง 20 – 30% ที่มา ดัดแปลงจาก Thomas Curry, Isaac Liberman, Lily Hoffman-Andrews & Dana Lowell, Reducing Aerodynamic Drag & Rolling Resistance from Heavy-Duty Trucks: Summary of Available Technologies & Applicability to Chinese Trucks, International Council on Clean Transportation: CA, 2012 Technology Roadmap for the 21 st Century Truck Program: A Government-Industry Research Partnership, Department of Energy: US, 2000.
  • 101. การลดพลังงาน (ENERGY GUARD SOLUTION) • ที่มา ดัดแปลงจาก SAVE FUEL AND WEIGHT WITH MICHELIN® X ONE® TIRES AND ENERGY GUARD AERODYNAMIC SOLUTIONS, Michelin, 2022 https://business.michelinman.com/fuelsaver Eng.Siripong Jungthawan
  • 103. ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ • Autonomous Vehicle Technology • Camera, Auto vision • Distribution Requirement Planning (DRP) • Enterprise Resource Planning (ERP) • Fleet Management Systems (FMS) • Fuel Management Systems (FMS) • GPS, Internet of Things (IoT) • Logistics Platform • Tire Management Systems (TMS) • Tire Pressure Management Systems (TPMS) • Tracking System • Transpiration Management System (TMS) • Warehouse Management System (WMS) Copyright © 2015, all rights reserved. Doing LESS Getting MORE (DLGM) บจก. ทำน้อยได้มำก Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+ M/L: 095-624-2449 103 Eng.Siripong Jungthawan
  • 104. ยานยนต์ขับเคลื่อนอัตโนมัติ (Autonomous Vehicle Technology) • SAE แบ่งไว้ 5 ระดับ • L0 – 3 ต้องมี พขร. L4 – 5 ไม่ต้อง ที่มา ดัดแปลงจาก Identifying Autonomous Vehicle Technology Impacts on the Trucking Industry, American Transportation Research Institute (ATRI), 2016
  • 105. กล้องตัวจับภาพ ตาเทพ (Camera, Auto vision) •ใช้กล้องแทน ไม่จาเป็นต้องใช้กระจกข้าง •ลดอุบัติเหตุ •ลดแรงต้านจากลม Copyright © 2015, all rights reserved. Doing LESS Getting MORE (DLGM) บจก. ทำน้อยได้มำก Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+ M/L: 095-624-2449 105 ที่มา Trucks and vision-related accidents: active safety 50% more effective than ‘direct vision’ cabs, European Automobile Manufacturers’ Association (ACEA), 2018
  • 106. การวางแผนความ ต้องการการกระจายสินค้า Distribution Requirement Planning (DRP) • ข้อถึงข้อมูล เอามาเชื่อมโยงกัน เครือข่าย สมาชิกในโซ่อุปทาน ความสามรถในการ ขนส่งสินค้า และสินค้าคงคลังที่มี • เชื่อมแต่ละสมาชิก ด้วยข้อมูลชุดเดียวกัน • วางแผนได้อย่างรวดเร็ว ไม่ใช่ Spreadsheet ในการวางแผนอีกต่อไป • คาดการณ์ได้ว่าจะเกิดอะไรขึ้น สร้างเลือก ในการตัดสินใจ Copyright © 2015, all rights reserved. Doing LESS Getting MORE (DLGM) บจก. ทำน้อยได้มำก Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+ M/L: 095-624-2449 106 ที่มา How analytics augments distribution requirement planning: Advances in supply chain technology take the guesswork out of deployment, genpact 2018 www.genpact.com/insight/blog/how-analytics-augments-distribution-requirement-planning Eng.Siripong Jungthawan
  • 107. ระบบการวางแผนทรัพยากร ธุรกิจขององค์กร (Enterprise Resource Planning : ERP) ERP เป็นการบริหารทรัพยากรให้เกิดประโยชน์สูงสุดโดยใช้ ระบบสารสนเทศมาบูรณาการงานหลัก (Core business process) ทั้งหมดเข้าด้วย และสามารถเชื่องโยงกันอย่างทัน กาล (Real-time) เป็นว่าเทคโนโลยีสารสนเทศที่ทันสมัยของ ปัจจุบันจึงจะสามารถทาให้เป็นจริงขึ้นได้ Copyright © 2015, all rights reserved. Doing LESS Getting MORE (DLGM) บจก. ทำน้อยได้มำก Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+ M/L: 095-624-2449 107 ที่มา ERP integration with cloud-based solutions www.esker.com/business-needs/erp-integration/cloud-erp-integration/https://actech.af/erp-system/
  • 108. ระบบการจัดการยานพาหนะ (Fleet Management System) • ทราบสถานะของยานพาหนะทั้งหมด • จัดการเส้นทางยานพาหนะ • ติดตามเส้นทางที่ยานพาหนะวิ่ง • ทราบความเร็ว ระยะเวลาโดยประมาณ • บริหารจัดการยานพาหนะได้ 24/7 Copyright © 2015, all rights reserved. Doing LESS Getting MORE (DLGM) บจก. ทำน้อยได้มำก Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+ M/L: 095-624-2449 108 ที่มา ระบบการจัดการยานพาหนะ (Fleet Management System) www.cartrack.co.th/fleet-management Eng.Siripong Jungthawan
  • 109. ระบบการบริหารน้ามัน (Fuel Management System) • ผู้ที่มีระบบปั้มน้ามันตนเอง • ติดตามน้ามันว่าเติมไปเท่าไร เชื่อมกับตัวรถว่าใช้ไปเท่าไร • โปร่งใส ตรวจสอบได้ • มักเจอปัญหาทุจริตเสมอ Copyright © 2015, all rights reserved. Doing LESS Getting MORE (DLGM) บจก. ทำน้อยได้มำก Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+ M/L: 095-624-2449 109 ที่มา Global Fuel Management System Market Size and Research 2021, CAGR Status, Growth Analysis by Countries, Development Factors and Strategies till 2027: Ken Research https://researchforecast.com/global-fuel-management-system-market-forecast-2027/ Eng.Siripong Jungthawan
  • 110. ระบบการจัดการยาง (Tire Management Systems: TMS) •การติดตามยาง ลม โครงสร้าง สภาพยาง •เตือนเมื่อถึงระยะที่กาหนด (กม.) •วางแผนการจัดการ สลับยาง เปลี่ยนยาง เซาะร่อง หล่อดอก •การจัดการสต๊อกยางผ่าน RFID Copyright © 2015, all rights reserved. Doing LESS Getting MORE (DLGM) บจก. ทำน้อยได้มำก Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+ M/L: 095-624-2449 110 ที่มา MICHELIN TIRE MONITORING, 2022 https://business.michelin.co.uk/freight-transport/freight-transport-services/michelin-tire-monitoring Eng.Siripong Jungthawan
  • 111. ระดับการจัดการลมยาง (Tire Pressure Management Systems : TPMS) 11 1 •ติดตามลมยางแต่ละเส้น •แต้งเตือนเรื่องอุณหภูมิ •ใช้งานง่ายเปลี่ยนแทนจุกลมยาง •ใช้ได้กับยางรถยนต์ทุกชนิด Copyright © 2015, all rights reserved. Doing LESS Getting MORE (DLGM) บจก. ทำน้อยได้มำก Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+ M/L: 095-624-2449 Eng.Siripong Jungthawan
  • 112. การนาหลักการไป ประยุกต์ใช้ • กาหนดนโยบายให้จริงจัง และ ติดตามผลทุกเดือน • เปรียบเทียบเชิงตัวเลขด้วย Spreadsheet และ Dashboard • ติดตามผลลัพธ์ทางทฤษฎี และ ปฏิบัติจริง • ขยายผลใช้งาน • หมั่นหาวิธีการใหม่ๆ จาก Best practice อย่างน้อยปีละครั้ง Eng.Siripong Jungthawan
  • 113. แบบจาลอง ธุรกิจใหม่ๆ (6PL) Copyright © 2015, all rights reserved. Doing LESS Getting MORE (DLGM) บจก. ทำน้อยได้มำก Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+ M/L: 095-624-2449 113
  • 114. เอกสารอ้างอิง • คานาย อภิปรัชญาสกุล, คู่มือลดต้นทุนน้ามันเชื้อเพลิงขนส่งและโลจิสติกส์, กรุงเทพมหานคร: โฟกัสมีเดีย แอนด์ พับลิชชิ่ง, 2553. • สานักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร สถาบันพลังงาน สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย สนับสนุนโดย ธนาคารเพื่อการพัฒนาเอเชีย (Asian Development Bank: ADB), เอกสารประกอบการ บรรยาย Green Freight Interventions among SMEs, กรุงเทพมหานคร,2558 • Basics of Distribution and Logistics, ASCM, 2022 • www.michelin.co.th • www.google.com Copyright © 2015, all rights reserved. Doing LESS Getting MORE (DLGM) บจก. ทำน้อยได้มำก Eng.Siripong Jungthawan, ACPE, CSCP, EPPM, QBAC+ M/L: 095-624-2449 114