SlideShare a Scribd company logo
1 of 52
เข้าใจตลาดดร.กฤษณพงศ์ เลิศบารุงชัย
facebook.com/TouchPoint.in.th
TouchPoint.in.th
Interaction Design
การออกแบบปฏิสัมพันธ์
5. UX
4. ฟีเจอร์สำหรับ MVP
3. กำหนดคุณประโยชน์
Product Market Fit (PMF)
2. ควำมต้องกำรที่ยังไม่ถูกเติมเต็ม
1. ผู้ใช้กลุ่มเป้ำหมำย
6. ทดสอบกับผู้ใช้ผลิตภัณฑ์
ตลำด
อ้ำงอิงจำกพีระมิดของ Product Market Fit และขั้นตอน 6 ขั้นของกระบวนกำรลีนสตำร์ทอัพ
ขั้นแรกสุดของกระบวนกำรลีนสตำร์ทอัพโดยกระบวนกำรที่นำเสนอในบทนี้จะช่วยให้ผู้สร้ำงผลิตภัณฑ์
เข้ำใจปัญหำและควำมต้องกำรของผู้ใช้
เลือกผู้ใช้กลุ่มเป้าหมาย
ลีนสตำร์ทอัพขั้นที่ 1
เลือกผู้ใช้กลุ่มเป้าหมาย
ขั้นตอนแรกสุด คือ กำรกำหนดว่ำผู้ใช้กลุ่มเป้ำหมำยของผลิตภัณฑ์ที่กำลังจะสร้ำงคือใคร ผู้สร้ำง
ผลิตภัณฑ์ต้องเริ่มจำกกำรตั้งสมมติฐำนเอำเองก่อน หรืออำจตั้งสมมติฐำนโดยเลียนแบบจำก
ผลิตภัณฑ์คู่แข่งหรือคู่เทียบในตลำดก็ได้ โดยสมมติฐำนแรกที่คิดเอำเองนี้ อำจถูกต้องทั้งหมด
อำจถูกเพียงบำงส่วน หรืออำจพลำดเป้ำไปคนละเรื่องเลยก็เป็นได้
เลือกผู้ใช้กลุ่มเป้าหมาย
หลักกำรของลีนสตำร์ทอัพไม่ได้พยำยำมจะมองหำวำมสมบูรณ์แบบใน
ตอนแรก แต่จะเน้นกำรลงมือทำให้เร็วเพื่อเรียนรู้ข้อผิดพลำดจำกผล
ตอบกลับของผู้ใช้จริงและนำผลนั้นกลับมำปรับปรุงสมมติฐำนหรือ
ผลิตภัณฑ์ให้ดีขึ้น
เมื่อกระบวนกำรของลีนสตำร์ทอัพดำเนินไป มีกำรสร้ำง
ตัวตนแบบและมีควำมคิดเห็นที่ได้รับจำกผู้ใช้บ้ำงแล้ว เมื่อ
นั้นสมมติฐำนเกี่ยวกับลักษณะของกลุ่มผู้ใช้กลุ่มเป้ำหมำย
ก็จะค่อยๆ ถูกทบทวนแก้ไขให้ถูกต้องมำกยิ่งขึ้นเอง
เลือกผู้ใช้กลุ่มเป้าหมาย
การแบ่งส่วนตลาด
กำรกำหนดลักษณะของผู้ใช้กลุ่มเป้ำหมำยนั้นทำให้ได้โดย
กำรระบุคุณลักษณะต่ำงๆ ที่จะช่วยจำกัดขอบเขตของผู้ใช้
ให้แคบลงและเฉพำะเจำะจงมำกขึ้น
คุณลักษณะที่นิยมใช้
สำหรับกำรแบ่งส่วนตลำดของผู้ใช้
• ลักษณะทำงประชำกรศำสตร์ (Demographic Segmentation)
• ลักษณะทำงจิตวิทยำ (Psychographic Segmentation)
• ลักษณะทำงพฤติกรรม (Behavioral Segmentation)
• ลักษณะควำมต้องกำร (Needs-Based Segmentation)
อำยุ เพศ สถำนะกำรแต่งงำน จำวนบุตร รำยได้ ระดับกำรศึกษำ ฯลฯ เช่น
ตั้งสมมติฐำนว่ำกลุ่มผู้ใช้คือผู้หญิงอำยุระหว่ำง 25-40 ปี ที่มีลูกอำยุต่ำกว่ำ
3 ขวบอย่ำงน้อยหนึ่งคน
ลักษณะทางประชากรศาสตร์Demographic Segmentation
ทัศนคติ ควำมคิดเห็น กำรรับรู้คุณค่ำ ควำมสนใจ ฯลฯ ตัวอย่ำงเช่น
ตั้งสมมติฐำนว่ำกลุ่มผู้ใช้เป้ำหมำยคือคุณแม่ที่ชอบใช้สื่อสังคมออนไลน์
และชอบแชร์ภำพลูกน้อยของตน
ลักษณะทางจิตวิทยาPsychographic Segmentation
กำรทำหรือไม่ทำพฤติกรรมหนึ่งๆควำมถี่ในกำรกระทำ ฯลฯ ตัวอย่ำงเช่น
ตั้งสมมติฐำนว่ำกลุ่มผู้ใช้เป้ำหมำยคือคุณแม่ที่แชร์ภำพทำรกบนสื่อสังคม
ออนไลน์อย่ำงน้อย 3 ครั้งต่อสัปดำห์
ลักษณะทางพฤติกรรมBehavioral Segmentation
กำรแบ่งควำมต้องกำรที่แตกต่ำงกันของผู้ใช้ ตัวอย่ำงเช่น ผู้ใช้กลุ่มที่ต้องกำร
ใช้บริกำรพำหนะเพื่อเดินทำงจำกที่หนึ่งไปอีกที่หนึ่ง และผู้ใช้กลุ่มที่ต้องกำรใช้
บริหำรพำหนะในฐำนะบริกำรส่งของ
ลักษณะความต้องการNeeds Based Segmentation
ลักษณะทำงจิตวิทยำ จะมีประโยชน์มำกกว่ำสำหรับหลำย
ผลิตภัณฑ์ เนื่องจำกลักษณะทำงจิตวิทยำสำมำรถสื่อให้
เข้ำใจถึงเหตุผลได้ดีกว่ำว่ำ ทำไมกลุ่มเป้ำหมำยนี้ถึง
เหมำะสมกับผลิตภัณฑ์นี้
Technology Adoption Life Cycle
อีกรูปแบบหนึ่งของกำรแบ่งส่วนตลำดที่มีประโยชน์มำกโดยเฉพำะสำหรับผลิตภัณฑ์
เทคโนโลยี คือ กำรแบ่งส่วนตลำดตำม Technology Adoption Life Cycle (TALC)
ซึ่งแบ่งกลุ่มผู้ใช้ออกเป็น 5 ระดับ
ADOPTION LIFE CYCLE : TALC
TECHNOLOGY
อีกรูปแบบหนึ่งของกำรแบ่งส่วนตลำดที่มีประโยชน์มำกโดยเฉพำะสำหรับผลิตภัณฑ์
เทคโนโลยี คือ กำรแบ่งส่วนตลำดตำม Technology Adoption Life Cycle (TALC)
ซึ่งแบ่งกลุ่มผู้ใช้ออกเป็น 5 ระดับ
INNOVATORSTECHNOLOGY ENTHUSIASTS
กลุ่มนวัตกรหรือผู้รักเทคโนโลยีที่ชอบหรือภำคภูมิใจกับ
กำรทดลองใช้ผลิตภัณฑ์ใหม่เป็นคนแรกๆ โดยไม่สนใจว่ำ
ผลิตภัณฑ์นั้นอำจยังไม่เสร็จสมบูรณ์ดี หรือล้มเหลวไม่
เป็นท่ำก็ตำม
EARLY ADOPTERSVISIONARIES
กลุ่มผู้ยอมรับแรกเริ่มหรือผู้มีวิสัยทัศน์ กำรยอมรับหรือ
ใช้งำนเทคโนโลยีใหม่ของกลุ่มนี้ไม่ได้มีแรงขับจกควำมรัก
ชอบส่วนตัว แต่เป็นวิสัยทัศน์ที่มองว่ำกำรใช้เทคโนโลยีนี้
ก่อนใครน่ำจะสร้ำงผลประโยชน์ให้ตนเองได้
EARLY MAJORITYPROGMATISTS
กลุ่มผู้ใช้ที่ไม่ได้สนใจเรื่องของเทคโนโลยีใหม่ แต่จะตัดสินใจใช้เมื่อมี
หลักฐำนที่น่ำเชื่อถือว่ำผลิตภัณฑ์นั้นสำมำรถทำประโยชน์ได้จริง
โดยคนกลุ่มนี้มักจะเลือกซื้อผลิตภัณฑ์จำกบริษัทใหญ่ที่มีควำม
น่ำเชื่อถือและควำมเสี่ยงต่ำ
LATE MAJORITY
CONSERVATIVES
กลุ่มอนุรักษ์นิยม มักจะมีข้อกังขำเกี่ยวกับเทคโนโลยีใหม่ว่ำ
มันมีประโยชน์จริงหรือไม่ และจะยอมใช้เทคโนโลยีก็ต่อเมื่อ
ถูกบังคับ สถำนกำรณ์รอบตัวกดดันให้จำเป็นต้องใช้
LOGGARDS
SKEPTICS
กลุ่มล้ำหลังหรือกลุ่มขี้ระแวง ซึ่งจะเป็นกลุ่มที่ระแวดระวังมำกกับ
นวัตกรรม เกลียดกำรเปลี่ยนแปลง และมักจะวิพำกษ์วิจำรณ์
เทคโนโลยีใหม่อยู่เสมอแม้ว่ำเทคโนโลยีนั้นจะกลำยเป็นกระแสหลัก
ไปเรียบร้อยแล้วก็ตำม
ในกำรสร้ำงผลิตภัณฑ์หรือเทคโนโลยีใหม่นั้นจำเป็นที่
จะต้องรู้จุดยืนปัจจุบันของผลิตภัณฑ์ใน TALC เสียก่อน
เนื่องจำกผู้ใช้ในแต่ละกลุ่มของ TALC มีควำมต้องกำร
และควำมคำดหวังต่ำงกันออกไป
จะเห็นว่ำในช่วงแรกเริ่มนั้นกลุ่ม Innovators และกลุ่ม
Early Adopters คือ ตลำดกลุ่มแรก (Early market)
ที่มีแนวโน้มจะยอมจ่ำยรำคำสูง มองข้ำมข้อเสีย และ
ยอมรับควำมเสี่ยงเพื่อแลกกับนวัตกรรมและควำม
ใหม่ของเทคโนโลยีได้
กำรจะเข้ำสู่ตลำดหลัก (Mainstream Market) ได้จำเป็นจะต้องข้ำมหุบเหว (Chasm) เพื่อทำให้กลุ่ม
Early Majority และ Late Majority ยอมรับให้ได้ โดยพวกเขำจะไม่สนใจในเรื่องของควำมใหม่ของเทคโนโลยี
แต่สนใจเรื่องของคุณประโยชน์ รำคำ ควำมง่ำยในกำรใช้ ควำมน่ำเชื่อถือ ฯลฯ
การสร้างตัวแทนของกลุ่มผู้ใช้
PERSONAR
กำรสร้ำง Persona หรือสร้ำงตัวแทนของผู้ใช้ขึ้นมำให้เป็น
แพคแกจสมบูรณ์ที่รวมคุณลักษณะทั้งหมดของกลุ่มเป้ำหมำย
แสดงออกมำเป็นโพรไฟล์เสมือนบุคคลจริงที่สื่อควำมหมำย
เข้ำใจได้ง่ำยและมีควำมยำวไม่เกินหนึ่งหน้ำกระดำษ
PERSONA
ข้อมูลที่มักจะถูกแสดงอยู่ใน Persona ได้แก่
ข้อมูล PERSONA
ชื่อ | รูปภำพ | คติประจำตัว
สิ่งที่ Persona นี้ให้ควำมสนใจมำกที่สุด ได้แก่ อำชีพ ลักษณะทำงประชำกรศำสตร์ ควำม
ต้องกำรหรือเป้ำหมำย แรงจูงใจหรือทัศนคติ กิจกรรมหรือพฤติกรรม ปัญหำที่พบกับ
วิธีกำรที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน ควำมถนัดหรือควำมรู้ สภำพแวดล้อมในกำรใช้งำนผลิตภัณฑ์
ระดับใน TALC ฯลฯ โดยจะเลือกเขียนเฉพำะแต่ประเด็นที่เกี่ยวข้องกับกำรใช้งำนผลิตภัณฑ์
ที่กำลังจะสร้ำงใหม่นี้เท่ำนั้น
แรกเริ่มมำจำกกำรตั้งสมมติฐำนของทีมผู้สร้ำงผลิตภัณฑ์เอง แต่เมื่อ
กระบวนกำรลีนสตำร์ทอัพดำเนินไป Persona ก็สำมำรถถูกปรับปรุง
ด้วยผลลัพธ์จำกกำรทดสอบของผู้ใช้จริงได้
ที่มาของข้อมูล PERSONA
ไม่ควรนำผลลัพธ์ที่เป็น “ค่ำเฉลี่ย” จำกแบบสอบถำมมำสร้ำงเป็น Persona เพรำะสิ่งที่เรำต้องกำร
คือ กำรสร้ำงผลิตภัณฑ์สำหรับผู้ใช้ที่มีตัวตนอยู่จริง ไม่ใช่ผู้ใช้ไร้ตัวตนที่เป็นผลมำจำกค่ำเฉลี่ยของ
แบบสอบถำม
สิ่งที่ควรระวัง
ระบุความต้องการที่ยังไม่ถูกเติมเต็ม
ลีนสตำร์ทอัพขั้นที่ 2
เป็นกำรออกแบบโดยมีผู้ใช้เป็นศูนย์กลำง คำภำษำอังกฤษที่เรำมักจะใช้กัน ได้แก่
Need | Want | Desire | Goal | Pain Point | Frustration
กำรค้นหำควำมต้องกำรของผู้ใช้ซึ่งมีรำยละเอียดในภำพรวมคือ
ความต้องการของผู้ใช้
1. ตั้งสมมติฐำน
2. ทดสอบสมมติฐำนและสัมภำษณ์ผู้ใช้
3. จัดลำดับควำมสำคัญ
เริ่มจำกกำรที่ทีมผู้สร้ำงคิดรำยกำรของคุณประโยชน์ที่ “คำดว่ำ” ผลิตภัณฑ์
หรือบริกำรนี้จะให้แก่ผู้ใช้ออกมำเสียก่อน กำรจะทำควำมเข้ำใจปัญหำและ
ควำมต้องกำรของผู้ใช้ได้ครอบคลุมที่สุดจึงต้องเริ่มจำกกำรสมมติฐำนของ
คุณประโยชน์ให้ลงรำยละเอียดไปมำกที่สุดด้วย
ตั้งสมมติฐาน
ตัวอย่ำงเช่นผลิตภัณฑ์ที่ช่วยอำจำรย์สอนออนไลน์ได้ในช่วง COVID-19 แทนที่จะเขียนกว้ำงๆ ว่ำ
“ช่วยผู้ใช้สอนออนไลน์ได้” ก็เปลี่ยนเป็นกำรเจำะลึกแยกเป็นข้อๆ ว่ำ
ตั้งสมมติฐาน
1. ช่วยผู้ใช้เตรียมกำรสอนได้
2. ช่วยผู้ใช้เช็คว่ำใครส่งงำนหรือยังไม่ได้ส่ง
3. ลดเวลำผู้ใช้ในกำรตรวจข้อสอบ
4. ช่วยผู้ใช้วิเครำะห์กำรมีปฏิสัมพันธ์และกำรตอบสนองแบบออนไลน์
เพื่อทดสอบว่ำสมมติฐำนของคุณประโยชน์ที่ทีมผู้สร้ำงผลิตภัณฑ์คิดมำนั้นตรงตำมที่ผู้ใช้ต้องกำร
จริงหรือไม่ ยังมีรำยละเอียดอะไรที่ตกหล่นหรือคิดไม่ถึงอีกหรือไม่ วิธีที่ดีที่สุดคือกำรออกไปพบผู้ใช้
กลุ่มเป้ำหมำยตัวจริงและสัมภำษณ์แบบตัวต่อตัว โดยในระหว่ำงสัมภำษณ์ผู้สัมภำษณ์ควรจะค่อยๆ
แนะนำคุณประโยชน์แต่ละตัวให้ผู้ถูกสัมภำษณ์ทรำบ
ทดสอบสมมติฐาน
ลักษณะคาถาม
ในกำรสัมภำษณ์
• คุณคิดว่ำประโยคนี้หมำยควำมว่ำยังไง ?
• คุณคิดว่ำสิ่งนี้จะช่วยคุณได้อย่ำงไรบ้ำง ?
• ถ้ำมีผลิตภัณฑ์สักตัวที่ทำสิ่งนี้ได้ คุณจะให้คุณค่ำผลิตภัณฑ์ตัวนั้นมำกน้อยแค่ไหน ?
ผู้สัมภำษณ์สำมำรถถำมคำถำมต่อเนื่องเพื่อเจำะลึกลงในรำยละเอียดควำมคิดเห็น
ของผู้ถูกสัมภำษณ์ได้อีก ได้แก่
ไม่ให้คุณค่ำ
ให้คุณค่ำน้อย
ให้คุณค่ำปำนกลำง
ให้คุณค่ำมำก
ให้คุณค่ำมำกที่สุด
กรณีตอบว่ำไม่ให้คุณค่ำเลยหรือให้น้อย
ทำไมสิ่งนี้ถึงไม่ค่อยมีคุณค่ำสำหรับคุณ ?
กรณีตอบว่ำให้คุณค่ำมำก
ทำไมสิ่งนี้ถึงมีคุณค่ำมำกสำหรับคุณ? อะไรที่จะทำให้สิ่งนี้มีคุณค่ำเพิ่มไปเป็นระดับมำกที่สุดสำหรับคุณได้ ?
กรณีตอบว่ำให้คุณค่ำมำกที่สุด
ทำไมสิ่งนี้ถึงมีคุณค่ำมำกที่สุดสำหรับคุณ ?
• อันไหนที่ถูกต้องตรงกับที่ผู้ใช้ต้องกำรจริง
• อันไหนที่ผู้ใช้ให้ควำมสำคัญกันมำก (พร้อมเหตุผลว่ำเพรำะอะไร)
• อันไหนที่ผิดคำดผู้ใช้ไม่เห็นควำมสำคัญเลย (พร้อมเหตุผลว่ำเพรำะอะไร)
คาตอบที่ได้จากผู้ถูกสัมภาษณ์
จะช่วยคัดกรองคุณประโยชน์ของผลิตภัณฑ์ที่เป็นสมมติฐำนทั้งหมดได้ว่ำ
ของแต่ละคุณประโยชน์
จัดลาดับความสาคัญ
เมื่อได้คุณประโยชน์ที่ทดสอบแล้วว่ำตอบสนองตรงกับ
ควำมต้องกำรของผู้ใช้ ลำดับต่อไปคือ กำรจัดลำดับ
ควำมสำคัญของคุณประโยชน์แต่ละตัวเพื่อใช้เป็นข้อมูล
ในกำรเลือกว่ำควรจะเริ่มทำจำกคุณประโยชน์ใดก่อนดี
โอกำสดี กำรแข่งขันสูง
ไม่คุ้มค่ำที่จะทำ
ต่ำ สูง
ต่ำ
สูง
ระดับควำมสำคัญของควำมต้องกำรนี้ของผู้ใช้
ควำมพึงพอใจของผู้ใช้ต่อวิธีที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน
กำรจัดตำมคุณค่ำที่ผลิตภัณฑ์จะมอบให้
ผู้ใช้ (Customer Value) ซึ่งคำถำมคือ
แล้วเรำจะสำมำรถวัดคุณค่ำดังกล่ำวของ
คุณประโยชน์แต่ละตัวได้อย่ำงไร ?
การจัดลาดับ
ควำมสำคัญของผลิตภัณฑ์ที่ดี กรำฟแสดงควำมสัมพันธ์ระหว่ำงควำมสำคัญและควำมพึงพอใจ
กรำฟแสดงควำมสัมพันธ์
โอกำสดี กำรแข่งขันสูง
ไม่คุ้มค่ำที่จะทำ
ต่ำ สูง
ต่ำ
สูง
ระดับควำมสำคัญของควำมต้องกำรนี้ของผู้ใช้
ควำมพึงพอใจของผู้ใช้ต่อวิธีที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน
กรำฟแสดงควำมสัมพันธ์ระหว่ำงควำมสำคัญและควำมพึงพอใจ
กรำฟแสดงควำมสัมพันธ์
จะเห็นว่ำพื้นที่ในกรำฟถูกแบ่งเป็น 4 ส่วน
สำหรับกำรสร้ำงผลิตภัณฑ์ใหม่ พื้นที่สองส่วนล่ำงหรือส่วนควำม
ต้องกำรที่มีควำมต้องกำรที่มีควำมสำคัญน้อยนั้นเป็นส่วนที่ไม่คุ้ม
ค่ำที่จะทำนัก โดยเฉพำะเมื่อเรำมีทรัพยำกรและเวลำทำงำนที่จำกัด
ในพื้นที่ส่วนด้ำนขวำคือส่วนที่แม้จะเป็นควำมต้องกำรที่สำคัญแต่ก็
มีอัตรำกำรแข่งขันสูง เนื่องจำกผู้ใช้พึงพอใจวิธีกำรที่ใช้ในปัจจุบันดี
อยู่แล้ว ในส่วนของพื้นที่ด้ำนบนซ้ำยหรือควำมต้องกำรที่สำคัญ แต่
ผู้ใช้ยังไม่ค่อยพึงพอใจวิธีกำรใช้อยู่ในปัจจุบันสักเท่ำไหร่นัก ส่วนนี้
คือโอกำสอันดีสำหรับผลิตภัณฑ์ใหม่ใดๆ ที่จะแทรกตัวเข้ำไปสร้ำง
โดยนำเสนอวิธีกำรใหม่ที่จะเพิ่มควำมพึงพอใจให้กับผู้ใช้ได้
แปลงตาแหน่งบนกราฟ
ให้เป็นตัวเลข
อำจทำแบบประเมินควำมพึงพอใจเป็นสเกล 5 4 3 2 1 แล้ว
แปลงสเกลเป็น 0-100%
โอกำสดี กำรแข่งขันสูง
ไม่คุ้มค่ำที่จะทำ
ระดับควำมสำคัญของควำมต้องกำรนี้ของผู้ใช้
ควำมพึงพอใจของผู้ใช้ต่อวิธีที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน
ผลิตภัณฑ์ใหม่
ควรปรับปรุง ดีอยู่แล้ว
ไม่คุ้มค่ำที่จะปรับปรุง
ระดับควำมสำคัญ
ระดับควำมพึงพอใจ
ผลิตภัณฑ์ที่มีอยู่แล้ว
กรำฟนี้มีประโยชน์ในกำรคัดเลือกคุณสมบัติที่เป็นโอกำสที่ดีในกำร
แทรกตัวเข้ำไปสร้ำงคุณค่ำแก่ผู้ใช้ในตลำดปัจจุบัน
สำมำรถนำกรำฟนี้มำปรับใช้ในกำรประเมินควำมพึงพอใจของผู้ใช้
ผลิตภัณฑ์เป็นระยะๆ ได้เช่นกัน
สาหรับผลิตภัณฑ์ใหม่
สาหรับผลิตภัณฑ์ที่มีอยู่แล้ว
• คุณสมบัติส่วนที่ผู้พัฒนำผลิตภัณฑ์ควรปรับปรุงก่อนคือส่วนที่อยู่ในพื้นที่มุมบนซ้ำย
• ส่วนคุณสมบัติในพื้นที่ด้ำนล่ำงเนื่องจำกไม่ค่อยสำคัญจึงละเลยได้
• คุณสมบัติของผลิตภัณฑ์ด้ำนที่อยู่ในพื้นที่มุมบนขวำคือคุณสมบัติที่ทำงำนได้ดีอยู่แล้ว ไม่จำเป็นต้องรีบทุ่มทรัพยำกรลงไปอีก
ทีมผู้สร้ำงผลิตภัณฑ์อำจเริ่มจำกกำรลองให้คะแนนแต่ละคุณประโยชน์ด้วยตัวเองก่อนเพื่อให้มองเห็น
ภำพรวมทั้งหมดของผลิตภัณฑ์
และเมื่อต้องออกไปหำกลุ่มผู้ใช้เป้ำหมำย แม้กลุ่มผู้ใช้เป้ำหมำยจะมีจำนวนน้อย ไม่ถึงหลักร้อยหรือหลักพ้น ไม่ถึงค่ำที่จะทำให้ได้ระดับควำมเชื่อมั่นสูง
ทำงสถิติก็ไม่เป็นปัญหำแต่อย่ำงใด โดยเฉพำะสำหรับผลิตภัณฑ์ที่เพิ่งจะตั้งต้น เพรำะอย่ำงไรเสียผลลัพธ์ที่ได้มำก็จะช่วยให้ทีมผู้สร้ำงผลิตภัณฑ์
มองเห็นแนวโน้มหรือรูปแบบที่ซ้ำกันบำงประกำรจำกผู้ใช้สำหรับนำไปพัฒนำในรอบถัดไป
สาหรับการสร้างผลิตภัณฑ์ใหม่ด้วยหลักการลีนสตาร์ทอัพ
ที่แต่ละคุณประโยชน์จะส่งมอบแก่ผู้ใช้
คานวณตัวเลขคุณค่า
นอกจำกกำรวำงแต่ละคุณประโยชน์ในกรำฟสเกลตัวเลขของควำมสำคัญและควำมพึงพอใจจะทำให้เห็น
ภำพรวมว่ำคุณประโยชน์ใดควรเลือกทำหรือเลือกพัฒนำปรับปรุงก่อนแล้ว พื้นที่ได้กรำฟของ
คุณประโยชน์แต่ละตัวยังบ่งบอกถึงบอกถึงคุณค่ำที่ส่งมอบ (หรือคำดว่ำจะส่งมอบ) ให้ผู้ใช้
ระดับควำมสำคัญ
ระดับควำมพึงพอใจ
สำมำรถนำมำคำนวณเป็นร้อยละของคุณค่ำที่ส่ง
มอบให้ผู้ใช้ได้ดังนี้
ระดับควำมสำคัญ
ระดับควำมพึงพอใจของผู้ใช้
คุณค่ำที่จะส่งมอบให้ผู้ใช้ = ควำมสำคัญ × ควำมพึงพอใจ
= 0.80 × 0.60
= 0.48 (ร้อยละ 48)
นอกจำกนี้ยังสำมำรถนำมำคำนวณเป็นค่ำของโอกำส
ที่แต่ละคุณประโยชน์สำมำรถเพิ่มให้กับผู้ใช้เปรียบเทียบ
กันได้ด้วย
โอกำสในกำรเพิ่มคุณค่ำ = ควำมสำคัญ × (1-ควำมพึงพอใจ)
โอกำสของ A = 0.70 × (1 - 0.60)
= 0.28 (ร้อยละ 28)
โอกำสของ B = 0.80 × (1 - 0.20)
= 0.64 (ร้อยละ 64)
หรือก็คือ B มีโอกำสสูงกว่ำ A ในกำรสร้ำงคุณค่ำเพิ่ม
ให้กับผู้ใช้นั่นเอง
แบบฝึกหัด
1. ให้นักศึกษำคิดผลิตภัณฑ์ขึ้นมำ 1 ชิ้น แล้วสร้ำง Persona ขึ้นมำ 5 ผู้ใช้ (เกิดจำกสมมติฐำน 2 คน จำกเพื่อน 3 คน)
2. ให้นักศึกษำสร้ำงแบบสัมภำษณ์ แล้วนำไปใช้สัมภำษณ์เพื่อนที่นำมำสร้ำง Persona 3 คน เพื่อทดสอบสมมติฐำน
3. นำเสนอคุณประโยชน์ (ฟีเจอร์) ของผลิตภัณฑ์โดยเรียงตำมลำดับควำมสำคัญของผู้ใช้ เมื่อได้ลำดับควำมสำคัญแล้วให้นำคุณประโยชน์
เหล่ำนั้นมำสร้ำงแบบประเมินควำมพึงพอใจแล้วให้ผู้ใช้ประเมิน
4. เขียนกรำฟควำมสัมพันธ์ระหว่ำงระดับควำมสำคัญและควำมพึงพอใจของผู้ใช้ของทุกคุณประโยชน์
5. คำนวณตัวเลขของคุณค่ำของแต่ละคุณประโยชน์ที่จะมอบให้กับผู้ใช้ให้อยู่ในรูปแบบร้อยละ
เอกสารอ้างอิง
ฐิติรัตน์ ศิริบวรรัตนกุล
ส่วนต่อประสำนงำนกับผู้ใช้และกำรออกแบบปฏิสัมพันธ์
สำนักพิมพ์สถำบันบัณฑิตพัฒนบริหำรศำสตร์ สถำบันบัณฑิตพัฒนบริหำรศำสตร์
User Interface and Interaction Design

More Related Content

What's hot

การตลาดดิจิทัล (Digital Marketing) มือใหม่ต้องรู้
การตลาดดิจิทัล (Digital Marketing) มือใหม่ต้องรู้การตลาดดิจิทัล (Digital Marketing) มือใหม่ต้องรู้
การตลาดดิจิทัล (Digital Marketing) มือใหม่ต้องรู้Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
6 ขั้นตอนอัดคลิปวิดีโอหน้าจอสอนออนไลน์ง่ายๆ ด้วย PowerPoint
6 ขั้นตอนอัดคลิปวิดีโอหน้าจอสอนออนไลน์ง่ายๆ ด้วย PowerPoint6 ขั้นตอนอัดคลิปวิดีโอหน้าจอสอนออนไลน์ง่ายๆ ด้วย PowerPoint
6 ขั้นตอนอัดคลิปวิดีโอหน้าจอสอนออนไลน์ง่ายๆ ด้วย PowerPointDr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
ติดปีกธุรกิจเพียงแค่คิดโลโก้ (Logo Design)
ติดปีกธุรกิจเพียงแค่คิดโลโก้ (Logo Design)ติดปีกธุรกิจเพียงแค่คิดโลโก้ (Logo Design)
ติดปีกธุรกิจเพียงแค่คิดโลโก้ (Logo Design)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
แสงและองค์ประกอบของภาพ
แสงและองค์ประกอบของภาพแสงและองค์ประกอบของภาพ
แสงและองค์ประกอบของภาพDr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
หลักการจัดองค์ประกอบของงานภาพเคลื่อนไหว (Compositing)
หลักการจัดองค์ประกอบของงานภาพเคลื่อนไหว (Compositing)หลักการจัดองค์ประกอบของงานภาพเคลื่อนไหว (Compositing)
หลักการจัดองค์ประกอบของงานภาพเคลื่อนไหว (Compositing)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...
เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...
เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การประมวลผลภาพพาโนรามา (Panorama Photography) Part 1
การประมวลผลภาพพาโนรามา (Panorama Photography) Part 1การประมวลผลภาพพาโนรามา (Panorama Photography) Part 1
การประมวลผลภาพพาโนรามา (Panorama Photography) Part 1Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การจัดวางตัวอักษร (Typography)
การจัดวางตัวอักษร (Typography)การจัดวางตัวอักษร (Typography)
การจัดวางตัวอักษร (Typography)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การออกแบบกราฟิกส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Graphical User Interface)
การออกแบบกราฟิกส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Graphical User Interface)การออกแบบกราฟิกส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Graphical User Interface)
การออกแบบกราฟิกส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Graphical User Interface)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
พื้นฐานการออกแบบปฏิสัมพันธ์ (Interaction Design Basic)
พื้นฐานการออกแบบปฏิสัมพันธ์ (Interaction Design Basic)พื้นฐานการออกแบบปฏิสัมพันธ์ (Interaction Design Basic)
พื้นฐานการออกแบบปฏิสัมพันธ์ (Interaction Design Basic)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การถ่ายภาพเร่งเวลา (Time-Lapse)
การถ่ายภาพเร่งเวลา (Time-Lapse)การถ่ายภาพเร่งเวลา (Time-Lapse)
การถ่ายภาพเร่งเวลา (Time-Lapse)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
ระบบปฏิสัมพันธ์ในกระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์ (Interaction System in Software Deve...
ระบบปฏิสัมพันธ์ในกระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์ (Interaction System in Software Deve...ระบบปฏิสัมพันธ์ในกระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์ (Interaction System in Software Deve...
ระบบปฏิสัมพันธ์ในกระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์ (Interaction System in Software Deve...Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การทดสอบส่วนติดต่อผู้ใช้งาน (User Interface Testing)
การทดสอบส่วนติดต่อผู้ใช้งาน (User Interface Testing)การทดสอบส่วนติดต่อผู้ใช้งาน (User Interface Testing)
การทดสอบส่วนติดต่อผู้ใช้งาน (User Interface Testing)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การออกแบบระบบและการออกแบบยูสเซอร์อินเตอร์เฟซ
การออกแบบระบบและการออกแบบยูสเซอร์อินเตอร์เฟซการออกแบบระบบและการออกแบบยูสเซอร์อินเตอร์เฟซ
การออกแบบระบบและการออกแบบยูสเซอร์อินเตอร์เฟซCC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
กระบวนการรับรู้ข้อมูลของมนุษย์ (Human Perception)
กระบวนการรับรู้ข้อมูลของมนุษย์ (Human Perception)กระบวนการรับรู้ข้อมูลของมนุษย์ (Human Perception)
กระบวนการรับรู้ข้อมูลของมนุษย์ (Human Perception)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การปฏิสัมพันธ์และโมเดลปฏิสัมพันธ์ (Interaction and Interactive Model)
การปฏิสัมพันธ์และโมเดลปฏิสัมพันธ์ (Interaction and Interactive Model)การปฏิสัมพันธ์และโมเดลปฏิสัมพันธ์ (Interaction and Interactive Model)
การปฏิสัมพันธ์และโมเดลปฏิสัมพันธ์ (Interaction and Interactive Model)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
ระบบนำทัวร์เสมือนจริง (Virtual Tour: VR Tour)
ระบบนำทัวร์เสมือนจริง (Virtual Tour: VR Tour)ระบบนำทัวร์เสมือนจริง (Virtual Tour: VR Tour)
ระบบนำทัวร์เสมือนจริง (Virtual Tour: VR Tour)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การผลิตสื่อวิดีโอ (Video Production)
การผลิตสื่อวิดีโอ (Video Production)การผลิตสื่อวิดีโอ (Video Production)
การผลิตสื่อวิดีโอ (Video Production)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การออกแบบ UX UI สำหรับโมบายแอพพลิเคชั่น (UI UX DESIGN FOR MOBILE APP)
การออกแบบ UX UI สำหรับโมบายแอพพลิเคชั่น (UI UX DESIGN FOR MOBILE APP)การออกแบบ UX UI สำหรับโมบายแอพพลิเคชั่น (UI UX DESIGN FOR MOBILE APP)
การออกแบบ UX UI สำหรับโมบายแอพพลิเคชั่น (UI UX DESIGN FOR MOBILE APP)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 

What's hot (20)

การตลาดดิจิทัล (Digital Marketing) มือใหม่ต้องรู้
การตลาดดิจิทัล (Digital Marketing) มือใหม่ต้องรู้การตลาดดิจิทัล (Digital Marketing) มือใหม่ต้องรู้
การตลาดดิจิทัล (Digital Marketing) มือใหม่ต้องรู้
 
6 ขั้นตอนอัดคลิปวิดีโอหน้าจอสอนออนไลน์ง่ายๆ ด้วย PowerPoint
6 ขั้นตอนอัดคลิปวิดีโอหน้าจอสอนออนไลน์ง่ายๆ ด้วย PowerPoint6 ขั้นตอนอัดคลิปวิดีโอหน้าจอสอนออนไลน์ง่ายๆ ด้วย PowerPoint
6 ขั้นตอนอัดคลิปวิดีโอหน้าจอสอนออนไลน์ง่ายๆ ด้วย PowerPoint
 
ติดปีกธุรกิจเพียงแค่คิดโลโก้ (Logo Design)
ติดปีกธุรกิจเพียงแค่คิดโลโก้ (Logo Design)ติดปีกธุรกิจเพียงแค่คิดโลโก้ (Logo Design)
ติดปีกธุรกิจเพียงแค่คิดโลโก้ (Logo Design)
 
แสงและองค์ประกอบของภาพ
แสงและองค์ประกอบของภาพแสงและองค์ประกอบของภาพ
แสงและองค์ประกอบของภาพ
 
หลักการจัดองค์ประกอบของงานภาพเคลื่อนไหว (Compositing)
หลักการจัดองค์ประกอบของงานภาพเคลื่อนไหว (Compositing)หลักการจัดองค์ประกอบของงานภาพเคลื่อนไหว (Compositing)
หลักการจัดองค์ประกอบของงานภาพเคลื่อนไหว (Compositing)
 
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)
 
เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...
เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...
เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...
 
การประมวลผลภาพพาโนรามา (Panorama Photography) Part 1
การประมวลผลภาพพาโนรามา (Panorama Photography) Part 1การประมวลผลภาพพาโนรามา (Panorama Photography) Part 1
การประมวลผลภาพพาโนรามา (Panorama Photography) Part 1
 
การจัดวางตัวอักษร (Typography)
การจัดวางตัวอักษร (Typography)การจัดวางตัวอักษร (Typography)
การจัดวางตัวอักษร (Typography)
 
การออกแบบกราฟิกส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Graphical User Interface)
การออกแบบกราฟิกส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Graphical User Interface)การออกแบบกราฟิกส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Graphical User Interface)
การออกแบบกราฟิกส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Graphical User Interface)
 
พื้นฐานการออกแบบปฏิสัมพันธ์ (Interaction Design Basic)
พื้นฐานการออกแบบปฏิสัมพันธ์ (Interaction Design Basic)พื้นฐานการออกแบบปฏิสัมพันธ์ (Interaction Design Basic)
พื้นฐานการออกแบบปฏิสัมพันธ์ (Interaction Design Basic)
 
การถ่ายภาพเร่งเวลา (Time-Lapse)
การถ่ายภาพเร่งเวลา (Time-Lapse)การถ่ายภาพเร่งเวลา (Time-Lapse)
การถ่ายภาพเร่งเวลา (Time-Lapse)
 
ระบบปฏิสัมพันธ์ในกระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์ (Interaction System in Software Deve...
ระบบปฏิสัมพันธ์ในกระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์ (Interaction System in Software Deve...ระบบปฏิสัมพันธ์ในกระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์ (Interaction System in Software Deve...
ระบบปฏิสัมพันธ์ในกระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์ (Interaction System in Software Deve...
 
การทดสอบส่วนติดต่อผู้ใช้งาน (User Interface Testing)
การทดสอบส่วนติดต่อผู้ใช้งาน (User Interface Testing)การทดสอบส่วนติดต่อผู้ใช้งาน (User Interface Testing)
การทดสอบส่วนติดต่อผู้ใช้งาน (User Interface Testing)
 
การออกแบบระบบและการออกแบบยูสเซอร์อินเตอร์เฟซ
การออกแบบระบบและการออกแบบยูสเซอร์อินเตอร์เฟซการออกแบบระบบและการออกแบบยูสเซอร์อินเตอร์เฟซ
การออกแบบระบบและการออกแบบยูสเซอร์อินเตอร์เฟซ
 
กระบวนการรับรู้ข้อมูลของมนุษย์ (Human Perception)
กระบวนการรับรู้ข้อมูลของมนุษย์ (Human Perception)กระบวนการรับรู้ข้อมูลของมนุษย์ (Human Perception)
กระบวนการรับรู้ข้อมูลของมนุษย์ (Human Perception)
 
การปฏิสัมพันธ์และโมเดลปฏิสัมพันธ์ (Interaction and Interactive Model)
การปฏิสัมพันธ์และโมเดลปฏิสัมพันธ์ (Interaction and Interactive Model)การปฏิสัมพันธ์และโมเดลปฏิสัมพันธ์ (Interaction and Interactive Model)
การปฏิสัมพันธ์และโมเดลปฏิสัมพันธ์ (Interaction and Interactive Model)
 
ระบบนำทัวร์เสมือนจริง (Virtual Tour: VR Tour)
ระบบนำทัวร์เสมือนจริง (Virtual Tour: VR Tour)ระบบนำทัวร์เสมือนจริง (Virtual Tour: VR Tour)
ระบบนำทัวร์เสมือนจริง (Virtual Tour: VR Tour)
 
การผลิตสื่อวิดีโอ (Video Production)
การผลิตสื่อวิดีโอ (Video Production)การผลิตสื่อวิดีโอ (Video Production)
การผลิตสื่อวิดีโอ (Video Production)
 
การออกแบบ UX UI สำหรับโมบายแอพพลิเคชั่น (UI UX DESIGN FOR MOBILE APP)
การออกแบบ UX UI สำหรับโมบายแอพพลิเคชั่น (UI UX DESIGN FOR MOBILE APP)การออกแบบ UX UI สำหรับโมบายแอพพลิเคชั่น (UI UX DESIGN FOR MOBILE APP)
การออกแบบ UX UI สำหรับโมบายแอพพลิเคชั่น (UI UX DESIGN FOR MOBILE APP)
 

Similar to เข้าใจตลาด (Market Understanding)

การบริหารสปา โครงการพัฒนาวิทยากร
การบริหารสปา โครงการพัฒนาวิทยากรการบริหารสปา โครงการพัฒนาวิทยากร
การบริหารสปา โครงการพัฒนาวิทยากรWichien Juthamongkol
 
เรื่องที่ 4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่
เรื่องที่ 4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่เรื่องที่ 4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่
เรื่องที่ 4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่arm_smiley
 
กิจกรรมที่3
กิจกรรมที่3กิจกรรมที่3
กิจกรรมที่3taksanasreejun1
 
Business developmentl
Business developmentlBusiness developmentl
Business developmentlwiwattho
 
เรื่องที่4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่
เรื่องที่4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่เรื่องที่4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่
เรื่องที่4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่supatra39
 
เรื่องที่4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่
เรื่องที่4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่เรื่องที่4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่
เรื่องที่4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่supatra39
 
การวางแผนและการควบคุมการผลิต
การวางแผนและการควบคุมการผลิตการวางแผนและการควบคุมการผลิต
การวางแผนและการควบคุมการผลิตKitipan Kitbamroong Ph.D. CISA
 
Chapter 12 design thinking in product
Chapter 12 design thinking in productChapter 12 design thinking in product
Chapter 12 design thinking in productTeetut Tresirichod
 
บทที่ 1 แนวคิดเกี่ยวกับการสื่อสารและการตลาด
บทที่ 1 แนวคิดเกี่ยวกับการสื่อสารและการตลาดบทที่ 1 แนวคิดเกี่ยวกับการสื่อสารและการตลาด
บทที่ 1 แนวคิดเกี่ยวกับการสื่อสารและการตลาดetcenterrbru
 
Th Developing communication brand task
Th Developing communication brand taskTh Developing communication brand task
Th Developing communication brand taskMassimiliano La Franca
 
เริ่มสร้างผลิตภัณฑ์ (Product Begining)
เริ่มสร้างผลิตภัณฑ์ (Product Begining)เริ่มสร้างผลิตภัณฑ์ (Product Begining)
เริ่มสร้างผลิตภัณฑ์ (Product Begining)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 

Similar to เข้าใจตลาด (Market Understanding) (20)

แผน Imc
แผน Imcแผน Imc
แผน Imc
 
การบริหารสปา โครงการพัฒนาวิทยากร
การบริหารสปา โครงการพัฒนาวิทยากรการบริหารสปา โครงการพัฒนาวิทยากร
การบริหารสปา โครงการพัฒนาวิทยากร
 
Media IMC
Media IMCMedia IMC
Media IMC
 
ประเภทของโครงงาน
ประเภทของโครงงานประเภทของโครงงาน
ประเภทของโครงงาน
 
Project3
Project3Project3
Project3
 
เรื่องที่ 4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่
เรื่องที่ 4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่เรื่องที่ 4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่
เรื่องที่ 4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่
 
Case Study : Customer Centric & Lead User
Case Study : Customer Centric & Lead UserCase Study : Customer Centric & Lead User
Case Study : Customer Centric & Lead User
 
Crm
CrmCrm
Crm
 
กิจกรรมที่3
กิจกรรมที่3กิจกรรมที่3
กิจกรรมที่3
 
Business developmentl
Business developmentlBusiness developmentl
Business developmentl
 
บทเรียน ประกอบแผนที่ 5
บทเรียน ประกอบแผนที่ 5บทเรียน ประกอบแผนที่ 5
บทเรียน ประกอบแผนที่ 5
 
เรื่องที่4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่
เรื่องที่4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่เรื่องที่4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่
เรื่องที่4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่
 
เรื่องที่4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่
เรื่องที่4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่เรื่องที่4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่
เรื่องที่4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่
 
การวางแผนและการควบคุมการผลิต
การวางแผนและการควบคุมการผลิตการวางแผนและการควบคุมการผลิต
การวางแผนและการควบคุมการผลิต
 
Chapter 12 design thinking in product
Chapter 12 design thinking in productChapter 12 design thinking in product
Chapter 12 design thinking in product
 
บทที่ 1 แนวคิดเกี่ยวกับการสื่อสารและการตลาด
บทที่ 1 แนวคิดเกี่ยวกับการสื่อสารและการตลาดบทที่ 1 แนวคิดเกี่ยวกับการสื่อสารและการตลาด
บทที่ 1 แนวคิดเกี่ยวกับการสื่อสารและการตลาด
 
WORK 3 2-18 604
WORK 3 2-18 604WORK 3 2-18 604
WORK 3 2-18 604
 
Th Developing communication brand task
Th Developing communication brand taskTh Developing communication brand task
Th Developing communication brand task
 
เริ่มสร้างผลิตภัณฑ์ (Product Begining)
เริ่มสร้างผลิตภัณฑ์ (Product Begining)เริ่มสร้างผลิตภัณฑ์ (Product Begining)
เริ่มสร้างผลิตภัณฑ์ (Product Begining)
 
Presentation 3 finally
Presentation 3 finallyPresentation 3 finally
Presentation 3 finally
 

More from Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai

ทักษะดิจิทัลสำหรับการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Digital Skills for Working in Th...
ทักษะดิจิทัลสำหรับการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Digital Skills for Working in Th...ทักษะดิจิทัลสำหรับการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Digital Skills for Working in Th...
ทักษะดิจิทัลสำหรับการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Digital Skills for Working in Th...Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับการท่องเที่ยว โรงแรม และอีเวนต์
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับการท่องเที่ยว โรงแรม และอีเวนต์เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับการท่องเที่ยว โรงแรม และอีเวนต์
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับการท่องเที่ยว โรงแรม และอีเวนต์Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การตลาดผ่านเครื่องมือค้นหา (Search Engine Marketing)
การตลาดผ่านเครื่องมือค้นหา (Search Engine Marketing)การตลาดผ่านเครื่องมือค้นหา (Search Engine Marketing)
การตลาดผ่านเครื่องมือค้นหา (Search Engine Marketing)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
AR / VR / MR / XR มุ่งสู่อนาคตการท่องเที่ยวที่เหนือจริง
AR / VR / MR / XR มุ่งสู่อนาคตการท่องเที่ยวที่เหนือจริงAR / VR / MR / XR มุ่งสู่อนาคตการท่องเที่ยวที่เหนือจริง
AR / VR / MR / XR มุ่งสู่อนาคตการท่องเที่ยวที่เหนือจริงDr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
เทคนิคการจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)
เทคนิคการจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)เทคนิคการจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)
เทคนิคการจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Motion Graphic)
การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว  (Motion Graphic)การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว  (Motion Graphic)
การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Motion Graphic)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
เสียงสำหรับงานมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)
เสียงสำหรับงานมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)เสียงสำหรับงานมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)
เสียงสำหรับงานมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)
การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)
การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับงานไมซ์ (Virtual Reality and Metavers...
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับงานไมซ์ (Virtual Reality and Metavers...เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับงานไมซ์ (Virtual Reality and Metavers...
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับงานไมซ์ (Virtual Reality and Metavers...Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
อัตลักษณ์องค์กร (Corporate Identity: C.I.)
อัตลักษณ์องค์กร (Corporate Identity: C.I.)อัตลักษณ์องค์กร (Corporate Identity: C.I.)
อัตลักษณ์องค์กร (Corporate Identity: C.I.)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
AR VR Metaverse ทางการแพทย์และพยาบาล
AR VR Metaverse ทางการแพทย์และพยาบาลAR VR Metaverse ทางการแพทย์และพยาบาล
AR VR Metaverse ทางการแพทย์และพยาบาลDr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
สร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinoti
สร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinotiสร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinoti
สร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย VidinotiDr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การเก็บข้อมูลด้วย Google Forms และการวิเคราะห์ข้อมูลด้วย Google Sheets
การเก็บข้อมูลด้วย Google Forms และการวิเคราะห์ข้อมูลด้วย Google Sheetsการเก็บข้อมูลด้วย Google Forms และการวิเคราะห์ข้อมูลด้วย Google Sheets
การเก็บข้อมูลด้วย Google Forms และการวิเคราะห์ข้อมูลด้วย Google SheetsDr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
หนังสือดิจิทัล 13 เล่ม น่าอ่าน อัพสกิลการสร้างนวัตกรรมสื่อดิจิทัล สื่อมัลติมี...
หนังสือดิจิทัล 13 เล่ม น่าอ่าน อัพสกิลการสร้างนวัตกรรมสื่อดิจิทัล สื่อมัลติมี...หนังสือดิจิทัล 13 เล่ม น่าอ่าน อัพสกิลการสร้างนวัตกรรมสื่อดิจิทัล สื่อมัลติมี...
หนังสือดิจิทัล 13 เล่ม น่าอ่าน อัพสกิลการสร้างนวัตกรรมสื่อดิจิทัล สื่อมัลติมี...Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การสร้างจักรวาลนฤมิต Spatial Metaverse
การสร้างจักรวาลนฤมิต Spatial Metaverseการสร้างจักรวาลนฤมิต Spatial Metaverse
การสร้างจักรวาลนฤมิต Spatial MetaverseDr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การออกแบบเรซูเม่และแฟ้มสะสมผลงานในยุคดิจิทัล (Resume and Portfolio Design in ...
การออกแบบเรซูเม่และแฟ้มสะสมผลงานในยุคดิจิทัล (Resume and Portfolio Design in ...การออกแบบเรซูเม่และแฟ้มสะสมผลงานในยุคดิจิทัล (Resume and Portfolio Design in ...
การออกแบบเรซูเม่และแฟ้มสะสมผลงานในยุคดิจิทัล (Resume and Portfolio Design in ...Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การเขียนบทความวิจัยนวัตกรรมเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา (Research Article Wr...
การเขียนบทความวิจัยนวัตกรรมเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา (Research Article Wr...การเขียนบทความวิจัยนวัตกรรมเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา (Research Article Wr...
การเขียนบทความวิจัยนวัตกรรมเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา (Research Article Wr...Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การเขียนสตอรี่บอร์ด (Storyboard)
การเขียนสตอรี่บอร์ด (Storyboard)การเขียนสตอรี่บอร์ด (Storyboard)
การเขียนสตอรี่บอร์ด (Storyboard)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การเขียนบทสำหรับงานวิดีโอ (Script Writing for Video Production)
การเขียนบทสำหรับงานวิดีโอ (Script Writing for Video Production)การเขียนบทสำหรับงานวิดีโอ (Script Writing for Video Production)
การเขียนบทสำหรับงานวิดีโอ (Script Writing for Video Production)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การเขียนสตอรี่บอร์ดภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Storyboard Writing for Motion Graphic)
การเขียนสตอรี่บอร์ดภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Storyboard Writing for Motion Graphic)การเขียนสตอรี่บอร์ดภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Storyboard Writing for Motion Graphic)
การเขียนสตอรี่บอร์ดภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Storyboard Writing for Motion Graphic)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 

More from Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai (20)

ทักษะดิจิทัลสำหรับการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Digital Skills for Working in Th...
ทักษะดิจิทัลสำหรับการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Digital Skills for Working in Th...ทักษะดิจิทัลสำหรับการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Digital Skills for Working in Th...
ทักษะดิจิทัลสำหรับการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Digital Skills for Working in Th...
 
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับการท่องเที่ยว โรงแรม และอีเวนต์
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับการท่องเที่ยว โรงแรม และอีเวนต์เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับการท่องเที่ยว โรงแรม และอีเวนต์
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับการท่องเที่ยว โรงแรม และอีเวนต์
 
การตลาดผ่านเครื่องมือค้นหา (Search Engine Marketing)
การตลาดผ่านเครื่องมือค้นหา (Search Engine Marketing)การตลาดผ่านเครื่องมือค้นหา (Search Engine Marketing)
การตลาดผ่านเครื่องมือค้นหา (Search Engine Marketing)
 
AR / VR / MR / XR มุ่งสู่อนาคตการท่องเที่ยวที่เหนือจริง
AR / VR / MR / XR มุ่งสู่อนาคตการท่องเที่ยวที่เหนือจริงAR / VR / MR / XR มุ่งสู่อนาคตการท่องเที่ยวที่เหนือจริง
AR / VR / MR / XR มุ่งสู่อนาคตการท่องเที่ยวที่เหนือจริง
 
เทคนิคการจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)
เทคนิคการจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)เทคนิคการจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)
เทคนิคการจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)
 
การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Motion Graphic)
การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว  (Motion Graphic)การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว  (Motion Graphic)
การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Motion Graphic)
 
เสียงสำหรับงานมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)
เสียงสำหรับงานมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)เสียงสำหรับงานมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)
เสียงสำหรับงานมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)
 
การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)
การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)
การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)
 
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับงานไมซ์ (Virtual Reality and Metavers...
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับงานไมซ์ (Virtual Reality and Metavers...เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับงานไมซ์ (Virtual Reality and Metavers...
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับงานไมซ์ (Virtual Reality and Metavers...
 
อัตลักษณ์องค์กร (Corporate Identity: C.I.)
อัตลักษณ์องค์กร (Corporate Identity: C.I.)อัตลักษณ์องค์กร (Corporate Identity: C.I.)
อัตลักษณ์องค์กร (Corporate Identity: C.I.)
 
AR VR Metaverse ทางการแพทย์และพยาบาล
AR VR Metaverse ทางการแพทย์และพยาบาลAR VR Metaverse ทางการแพทย์และพยาบาล
AR VR Metaverse ทางการแพทย์และพยาบาล
 
สร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinoti
สร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinotiสร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinoti
สร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinoti
 
การเก็บข้อมูลด้วย Google Forms และการวิเคราะห์ข้อมูลด้วย Google Sheets
การเก็บข้อมูลด้วย Google Forms และการวิเคราะห์ข้อมูลด้วย Google Sheetsการเก็บข้อมูลด้วย Google Forms และการวิเคราะห์ข้อมูลด้วย Google Sheets
การเก็บข้อมูลด้วย Google Forms และการวิเคราะห์ข้อมูลด้วย Google Sheets
 
หนังสือดิจิทัล 13 เล่ม น่าอ่าน อัพสกิลการสร้างนวัตกรรมสื่อดิจิทัล สื่อมัลติมี...
หนังสือดิจิทัล 13 เล่ม น่าอ่าน อัพสกิลการสร้างนวัตกรรมสื่อดิจิทัล สื่อมัลติมี...หนังสือดิจิทัล 13 เล่ม น่าอ่าน อัพสกิลการสร้างนวัตกรรมสื่อดิจิทัล สื่อมัลติมี...
หนังสือดิจิทัล 13 เล่ม น่าอ่าน อัพสกิลการสร้างนวัตกรรมสื่อดิจิทัล สื่อมัลติมี...
 
การสร้างจักรวาลนฤมิต Spatial Metaverse
การสร้างจักรวาลนฤมิต Spatial Metaverseการสร้างจักรวาลนฤมิต Spatial Metaverse
การสร้างจักรวาลนฤมิต Spatial Metaverse
 
การออกแบบเรซูเม่และแฟ้มสะสมผลงานในยุคดิจิทัล (Resume and Portfolio Design in ...
การออกแบบเรซูเม่และแฟ้มสะสมผลงานในยุคดิจิทัล (Resume and Portfolio Design in ...การออกแบบเรซูเม่และแฟ้มสะสมผลงานในยุคดิจิทัล (Resume and Portfolio Design in ...
การออกแบบเรซูเม่และแฟ้มสะสมผลงานในยุคดิจิทัล (Resume and Portfolio Design in ...
 
การเขียนบทความวิจัยนวัตกรรมเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา (Research Article Wr...
การเขียนบทความวิจัยนวัตกรรมเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา (Research Article Wr...การเขียนบทความวิจัยนวัตกรรมเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา (Research Article Wr...
การเขียนบทความวิจัยนวัตกรรมเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา (Research Article Wr...
 
การเขียนสตอรี่บอร์ด (Storyboard)
การเขียนสตอรี่บอร์ด (Storyboard)การเขียนสตอรี่บอร์ด (Storyboard)
การเขียนสตอรี่บอร์ด (Storyboard)
 
การเขียนบทสำหรับงานวิดีโอ (Script Writing for Video Production)
การเขียนบทสำหรับงานวิดีโอ (Script Writing for Video Production)การเขียนบทสำหรับงานวิดีโอ (Script Writing for Video Production)
การเขียนบทสำหรับงานวิดีโอ (Script Writing for Video Production)
 
การเขียนสตอรี่บอร์ดภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Storyboard Writing for Motion Graphic)
การเขียนสตอรี่บอร์ดภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Storyboard Writing for Motion Graphic)การเขียนสตอรี่บอร์ดภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Storyboard Writing for Motion Graphic)
การเขียนสตอรี่บอร์ดภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Storyboard Writing for Motion Graphic)
 

เข้าใจตลาด (Market Understanding)