SlideShare a Scribd company logo
1 of 8
Download to read offline
แนวปฏิบัติในการจัดการทรัพยากรการศึกษาแบบเปิด (ฉบับผู้ใช้งาน) 1 
แนวปฏิบัติในการจัดการทรัพยากรการศึกษาแบบเปิด 
(ฉบับผู้ใช้งาน) 
โครงการระบบสื่อสาระออนไลน์เพื่อการเรียนรู้ทางไกลเฉลิมพระเกียรติ 
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในวโรกาส 
ฉลองพระชนมายุ 5 รอบ 2 เมษายน 2558 
เอกสารนี้เป็นเอกสารที่จัดทาขึ้นเพื่อมอบให้กับหน่วยงาน ที่เข้าร่วมโครงการระบบสื่อสาระออนไลน์ เพื่อการเรียนรู้ทางไกลฯ เพื่อนาไปบริหารจัดการและรู้วิธีกาหนดเงื่อนไขในการใช้งานทรัพยากรการศึกษา แบบเปิด อันจะเป็นองค์ประกอบสาคัญของ “การก้าวสู่สังคมการเรียนรู้แบบแบ่งปัน” เนื่องจากการเรียนรู้ ที่มีคุณค่า ก็คือ การเรียนรู้แบบร่วมมือ การแบ่งปันความรู้ ไม่ยึดถือในความเป็นเจ้าของมากเกินไป จนไป ขัดโอกาสการเข้าถึงโอกาสการเรียนรู้ของผู้อื่น แนวคิดการสร้างช่องทางการเรียนรู้ที่เข้าถึงได้อิสระเสรี จึงเป็นแนวคิดของการส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต (Lifelong Learning) โดยมีหัวใจสาคัญอยู่ที่การแบ่งปัน แหล่งทรัพยากรด้านการศึกษาที่มีคุณภาพสู่สังคมโลกเพื่อนาไปใช้ประโยชน์ทางด้านการศึกษาได้อย่างเสรี 
ผู้เขียน : นายบุญเลิศ อรุณพิบูลย์ 
รองผู้อานวยการฝ่ายบริการความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 
สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ 
เวอร์ชั่น : 1 / 10 พฤศจิกายน 2557
แนวปฏิบัติในการจัดการทรัพยากรการศึกษาแบบเปิด (ฉบับผู้ใช้งาน) 2 
แนวปฏิบัติในการจัดการทรัพยากรการศึกษาแบบเปิด (ฉบับผู้ใช้งาน) 
ทรัพยากรการศึกษาแบบเปิดคือ ??? 
คาถามแรกเมื่อเริ่มพูดคุยเกี่ยวกับ ทรัพยากรการศึกษาแบบเปิด1 หรือ OER – Open Educational Resources ก็ย่อมหนีไม่พ้นในความหมายว่าทรัพยากรการศึกษาแบบเปิด คืออะไรล่ะ ??? ก่อนจะพูดถึง ความหมาย ขอให้ลองอ่านบทสนทนานี้ก่อนนะครับ 
จากบทสนทนาข้างต้น ก็คงจะเห็นภาพชัดว่าการทาเอกสาร หรือสื่อการเรียนการสอนใดๆ ย่อมต้อง อาศัยทรัพยากรจากที่ต่างๆ มาประกอบ ทั้งเนื้อหา ภาพนิ่ง ภาพถ่าย ภาพเคลื่อนไหว VDO Clip สื่อ Animation ทรัพยากรที่กล่าวมาทั้งต้น ก็คือ ทรัพยากรการศึกษาหรือ ER – Educational Resources นั่นเอง แม้กระทั่งสไลด์ที่สร้างด้วยทรัพยากรดังกล่าว ก็นับเป็นทรัพยากรการศึกษาเช่นกัน แล้วทรัพยากร การศึกษาแบบเปิดล่ะต่างจากทรัพยากรการศึกษาทั่วๆ ไป อย่างไร 
1 คาศัพท์ที่ปรากฏในเอกสาร “ปฏิญญากรุงปารีสด้านแหล่งทรัพยากรการศึกษาแบบเปิด พ.ศ. ๒๕๕๕ : 2012 PARIS OER DECLARATION” http://www.unesco.org/new/fileadmin/MULTIMEDIA/HQ/CI/WPFD2009/Thai_version_of_the_2012_PARIS_OER_DECLARATION.pdf 
อาจารย์ ก.: สมใจ อย่าลืมทาสไลด์เนื้อหาการพัฒนาการอินเทอร์เน็ตมาส่งล่ะ 
สมใจ: ค่ะอาจารย์ 
... 
สมใจ: อาจารย์ค่ะ ขอส่งสไลด์ค่ะ 
อาจารย์ ก.: ดีๆๆๆ น่าสนใจมาก มีทั้งเนื้อหาและภาพประกอบชัดเจนมาก แถมยังมีภาพเคลื่อนไหว และ VDO Clip ประกอบอีกด้วย 
สมใจ: ขอบคุณค้า ... ก็สไลด์เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตนี่ค่ะ ก็ต้องใช้ อินเทอร์เน็ตให้เป็นประโยชน์ เนื้อหาหนูอ่านจากหนังสือและ ค้นจากเว็บ ส่วนภาพและสื่ออื่นๆ ค้นจากเว็บเป็นหลักค่ะ
แนวปฏิบัติในการจัดการทรัพยากรการศึกษาแบบเปิด (ฉบับผู้ใช้งาน) 3 
การสร้างเอกสาร หรือสื่อการเรียนการสอนเมื่อไม่สามารถเลี่ยงได้ที่จะต้องนาทรัพยากรจากที่ต่างๆ มาใช้ประกอบการสร้าง ย่อมแปลว่า ความเสี่ยงอันเกิดจากประเด็นทรัพย์สินทางปัญญา ตาม พรบ. ลิขสิทธิ์ ย่อมมีตามมาแน่นอน ความเชื่อว่า “การได้รับการยกเว้นจากการเรียนการสอน” เป็นเหตุสาคัญที่เกิดปัญหา ดังข้างต้น 
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 25372 ได้กล่าวถึง “ข้อยกเว้นการละเมิดลิขสิทธิ์” ที่เกี่ยวกับการเรียน การสอน ไว้ในวรรคสองของมาตรา 32 และมาตรา 33 โดยได้โยงประเด็นสาคัญไว้ที่วรรคหนึ่งมาตรา 32 
ทั้งนี้ข้อความดังกล่าวมีลักษณะเป็น “นามธรรม” ต่อมากรมทรัพย์สินทางปัญญา ได้จัดทา “คู่มือการใช้งานลิขสิทธิ์ที่เป็นธรรมสาหรับการเรียนการสอน”3 เพื่ออธิบายรายละเอียดมาตรา 32 และ 
2 Public Law Net : เครือข่ายกฎหมายมหาชนไทย. “พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. ๒๕๓๗.” Accessed November 16, 2014. http://www.pub- law.net/library/act_copyright.html. 
3 กรมทรัพย์สินทางปัญญา. “คู่มือการใช้งานลิขสิทธิ์ที่เป็นธรรมสาหรับการเรียนการสอน.” Accessed November 16, 2014. http://203.209.117.203/ipthailand/index.php?option=com_content&task=view&id=671&Itemid=198. 
อาจารย์ ก.: เอ๋ เกิดอะไรขึ้นหรือนี่ มีจดหมายฟ้องมาจากบริษัท A ว่าโรงเรียน เราละเมิดลิขสิทธิ์ภาพ หรือนี่ แต่ภาพทั้งหมดนี่ เป็นภาพจาก สไลด์ที่สมใจทาและส่งเผยแพร่ผ่าน Social Media นี่ เกิดเหตุการณ์นี้ได้อย่างไร ก็เป็นสไลด์เพื่อการเรียนการสอน ไม่น่าจะเกิดเหตุการณ์นี้ได้ เพราะน่าจะได้รับการยกเว้นนี่น่า 
ครู อาจารย์ นักเรียน นักศึกษา และบุคลากรทางการศึกษาส่วนใหญ่ยังเชื่อว่า “การนาทรัพยากรใดๆ มาใช้เพื่อการเรียนการสอน จะได้รับการยกเว้นการละเมิดลิขสิทธิ์” โดยไม่มีข้อจากัด 
การกระทาแก่งานอันมีลิขสิทธิ์ของบุคคลอื่นตามพระราชบัญญัตินี้ หากไม่ขัดต่อ การแสวงหาประโยชน์จากงานอันมีลิขสิทธิ์ตามปกติของเจ้าของลิขสิทธิ์และ ไม่กระทบกระเทือนถึงสิทธิอันชอบด้วยกฎหมายของเจ้าของลิขสิทธิ์เกินสมควร มิให้ถือว่าเป็นการละเมิดลิขสิทธิ์
แนวปฏิบัติในการจัดการทรัพยากรการศึกษาแบบเปิด (ฉบับผู้ใช้งาน) 4 
มาตรา 33 ของพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 ซึ่งได้อธิบายประเด็นนามธรรมของวรรคหนึ่งมาตรา 32 
ให้เป็น “รูปธรรม” เช่น 
จึงไม่ใช่เหตุการณ์ผิดปกติที่โรงเรียนของอาจารย์ ก. จะถูกฟ้องฐานละเมิดลิขสิทธิ์ภาพ แม้ว่าภาพ 
ดังกล่าวจะถูกใช้ในการเรียนการสอน 
พระเอกขี่ม้าขาวมาช่วยแล้วครับ “ทรัพยากรการศึกษาแบบเปิด” เลยครับ ซึ่งก็คือ ทรัพยากร 
การศึกษาที่ผู้สร้างสรรค์ได้อนุญาตให้ผู้สนใจนาไปใช้งานได้ภายใต้เงื่อนไขที่กาหนด 
โดยไม่จาเป็นต้องขออนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษร สามารถเผยแพร่ได้ทั้งรูปแบบเอกสาร 
สิ่งพิมพ์ และเอกสารออนไลน์ ทั้งนี้บางชิ้นของทรัพยากรยังอนุญาตให้ปรับเปลี่ยนแก้ไขได้ด้วย โดยการอนุญาต 
ดังกล่าวกระทาภายใต้ “สัญญาอนุญาตแบบเปิด” ซึ่งอาจจะเป็นสัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์ (Creative 
Commons) หรือสัญญาอนุญาตสมบัติสาธารณะ (Public Domain) รวมทั้ง Open Access 
ต่อไปนี้ การสืบค้น หรือเลือกภาพ 
สื่อใดๆ มาประกอบการทา 
เอกสารบทเรียน ต้องใส่ใจ 
“สัญญาอนุญาตแบบเปิด” 
โอ้... แย่เลยสิครับแบบนี้ 
จะทายังไงต่อดีล่ะ 
ผู้สอนและผู้เรียนดาวน์โหลดภาพจากอินเทอร์เน็ต เพื่อใช้ในการศึกษาได้ในปริมาณ 
เท่ากับ 4.4.1 แต่จะอัพโหลดงานนั้นกลับขึ้นบนอินเทอร์เน็ตไม่ได้ หากไม่ได้รับอนุญาต 
จากเจ้าของลิขสิทธิ์
แนวปฏิบัติในการจัดการทรัพยากรการศึกษาแบบเปิด (ฉบับผู้ใช้งาน) 5 
รูปแสดงสัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์ 
รูปแสดงบทความทางวิชาการที่เผยแพร่แบบ Open Access 
ในยุคปัจจุบัน แม้ว่ากระแสทรัพย์สินทางปัญญาจะทวีความรุนแรง แต่ก็ส่งผลให้มีบุคคล หรือ หน่วยงานที่สนใจ “ถ่วงดุล” ประเด็นดังกล่าว โดยการสร้างสรรค์ และเผยแพร่ผลงานที่ตนเองสร้างสรรค์ ภายใต้สัญญาอนุญาตแบบเปิดมากขึ้น ดังเช่น Clipart สวยงามจานวนมากที่มีคุณภาพสูง พร้อมเครื่องมือ ปรับแก้ไขได้อิสระแบบออนไลน์จากเว็บไซต์ http://openclipart.org ที่อนุญาตให้ผู้ใช้เลือกใช้ผลงานที่ สร้างสรรค์และเผยแพร่ภายใต้สัญญาอนุญาตสมบัติสาธารณะ
แนวปฏิบัติในการจัดการทรัพยากรการศึกษาแบบเปิด (ฉบับผู้ใช้งาน) 6 
จากหน้าเว็บไซต์ http://openclipart.org หากเลื่อนจอภาพลงมาถึงส่วนท้ายของหน้าเว็บ จะพบ ข้อความแสดงสัญญาอนุญาต ดังนี้ 
รูปแสดงสัญญาอนุญาตสมบัติสาธารณะ 
นอกจากนี้เว็บไซต์ http://search.creativecommons.org ก็เป็นเว็บบริการสืบค้นข้อมูลที่เผยแพร่ ด้วยสัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์ แหล่งใหญ่มากแหล่งหนึ่ง 
ทั้งนี้เว็บไซต์ http://search.creativecommons.org เป็นเสมือนบริการกลางที่ช่วยให้สามารถ กาหนดเงื่อนไขการสืบค้นทรัพยากรทางการศึกษาแบบเปิดจากหลายๆ เว็บ ทั้ง Google Images, Flickr, Open Clip Art
แนวปฏิบัติในการจัดการทรัพยากรการศึกษาแบบเปิด (ฉบับผู้ใช้งาน) 7 
เว็บไซต์ http://oercommons.org/ ก็ทาหน้าที่ที่ไม่ต่างกัน ซึ่งนับเป็นเว็บกลางของทรัพยากร การศึกษาแบบเปิดเลยก็ว่าได้ 
แม้กระทั่ง Google Images ซึ่งเป็นเครื่องมือช่วยสืบค้นภาพที่ได้รับความนิยมมากที่สุด ก็ได้ตระหนัก ถึงประเด็นทรัพย์สินทางปัญญา ได้พัฒนาความสามารถในการสืบค้นโดยการกรองด้วยเงื่อนไขสัญญาอนุญาต ดังนี้ 
ป้อนคาค้นที่ต้องการ เมื่อปรากฏผลลัพธ์ให้เลือกตัวเลือก Search tools, Usage rights ก็จะปรากฏ ตัวเลือกเงื่อนไขตามที่ผู้ใช้ต้องการใช้ เช่น reuse with modification ซึ่งแสดงว่าต้องการค้นภาพที่ผู้ สร้างสรรค์อนุญาตให้ปรับแก้ไขได้
แนวปฏิบัติในการจัดการทรัพยากรการศึกษาแบบเปิด (ฉบับผู้ใช้งาน) 8 
ใส่ใจกับสัญญาอนุญาตก่อนเลือกใช้งาน 
เมื่อรู้จักกับสัญญาอนุญาตแบบเปิด สิ่งสาคัญคือ การใช้งานทรัพยากรการศึกษาให้ถูกต้องตามที่ สัญญาอนุญาตกาหนด โดยเฉพาะสัญญาอนุญาตครีเอทิฟคอมมอนส์ ดังนี้ 
ทรัพยากรการศึกษาใด กากับด้วยสัญลักษณ์ แสดงว่าผู้สร้างสรรค์อนุญาตให้เผยแพร่ ดัดแปลง โดยต้องระบุที่มา 
ทรัพยากรการศึกษาใด กากับด้วยสัญลักษณ์ แสดงว่าผู้สร้างสรรค์อนุญาตให้เผยแพร่ ดัดแปลง โดยต้องระบุที่มาและต้องเผยแพร่งานดัดแปลงโดยใช้สัญญาอนุญาตเดียวกัน 
ทรัพยากรการศึกษาใด กากับด้วยสัญลักษณ์ แสดงว่าผู้สร้างสรรค์อนุญาตให้เผยแพร่ โดยต้องระบุที่มา แต่ห้ามดัดแปลง 
ทรัพยากรการศึกษาใด กากับด้วยสัญลักษณ์ แสดงว่าผู้สร้างสรรค์อนุญาตให้เผยแพร่ ดัดแปลง โดยต้องระบุที่มาแต่ ห้ามใช้เพื่อการค้า 
ทรัพยากรการศึกษาใด กากับด้วยสัญลักษณ์ แสดงว่าผู้สร้างสรรค์อนุญาตให้เผยแพร่ ดัดแปลง โดยต้องระบุที่มาแต่ห้ามใช้เพื่อการค้าและต้องเผยแพร่งานดัดแปลงโดยใช้สัญญาอนุญาตชนิด เดียวกัน 
ทรัพยากรการศึกษาใด กากับด้วยสัญลักษณ์ แสดงว่าผู้สร้างสรรค์อนุญาตให้เผยแพร่ โดยต้องระบุที่มาแต่ห้ามดัดแปลงและห้ามใช้เพื่อการค้า 
โครงการระบบสื่อสาระออนไลน์เพื่อการเรียนรู้ทางไกล เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในวโรกาสฉลองพระชนมายุ 5 รอบ 2 เมษายน 2558 ภายใต้คาแนะนาโดย ดร.ทวีศักดิ์ กออนันตกูล ผู้อานวยการสานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ จึงหวังว่า “คลังทรัพยากร การศึกษาแบบเปิด” ของประเทศไทย คงถึงเวลาแล้วที่จะเริ่มต้น ณ วันนี้ พร้อมทั้งนี้ท่านได้กรุณาให้คาแนะนา ก่อนปิดท้ายเนื้อหาไว้ดังนี้ 
1. ทุกสรรพสิ่งที่เห็นและอ่านได้ในอินเทอร์เน็ต มีเจ้าของ 
2. การนามาทาสาเนาและเผยแพร่ต่อ ต้องศึกษาว่าเจ้าของเขาอนุญาตหรือไม่ 
3. การนาสรรพสิ่งมาใช้ต่ออย่างปลอดภัยและถูกกฎหมาย มีหลายรายการที่เจ้าของเขาให้ใช้ โดยไม่ต้องขอ ดูให้ดี 
4. เมื่อทาตามอย่างมีสติ จะปลอดภัย และเป็นแบบอย่างที่ดีแก่นักเรียน

More Related Content

What's hot

ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็คตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็คtumetr1
 
New Technology for Information Services
New Technology for Information ServicesNew Technology for Information Services
New Technology for Information ServicesBoonlert Aroonpiboon
 
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้นอินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้นChantana Papattha
 
Hw2 53171615,53171617,53171640,53171705,53171718,53171731,53171750 เทคโนโลยีโ...
Hw2 53171615,53171617,53171640,53171705,53171718,53171731,53171750 เทคโนโลยีโ...Hw2 53171615,53171617,53171640,53171705,53171718,53171731,53171750 เทคโนโลยีโ...
Hw2 53171615,53171617,53171640,53171705,53171718,53171731,53171750 เทคโนโลยีโ...Nuttapong Yongja
 
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learning
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learningตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learning
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learningrubtumproject.com
 
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้TDew Ko
 
การติดต่อสื่อสาร
การติดต่อสื่อสารการติดต่อสื่อสาร
การติดต่อสื่อสารJha Jah
 
Benefits of the internet education
Benefits of the internet educationBenefits of the internet education
Benefits of the internet educationcodexstudio
 
เทคนิคการสอนยุค It
เทคนิคการสอนยุค Itเทคนิคการสอนยุค It
เทคนิคการสอนยุค ItPrachyanun Nilsook
 
การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เพื่อให้บริ...
การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์   เพื่อให้บริ...การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์   เพื่อให้บริ...
การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เพื่อให้บริ...Srion Janeprapapong
 
การเรียนการสอนด้วย Tablet
การเรียนการสอนด้วย Tabletการเรียนการสอนด้วย Tablet
การเรียนการสอนด้วย TabletPrachyanun Nilsook
 

What's hot (20)

20190409 social-media-backup
20190409 social-media-backup20190409 social-media-backup
20190409 social-media-backup
 
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็คตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
 
New Technology for Information Services
New Technology for Information ServicesNew Technology for Information Services
New Technology for Information Services
 
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้นอินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
 
Hw2 53171615,53171617,53171640,53171705,53171718,53171731,53171750 เทคโนโลยีโ...
Hw2 53171615,53171617,53171640,53171705,53171718,53171731,53171750 เทคโนโลยีโ...Hw2 53171615,53171617,53171640,53171705,53171718,53171731,53171750 เทคโนโลยีโ...
Hw2 53171615,53171617,53171640,53171705,53171718,53171731,53171750 เทคโนโลยีโ...
 
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learning
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learningตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learning
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learning
 
แผนแม่บท Ict ศธ
แผนแม่บท Ict ศธแผนแม่บท Ict ศธ
แผนแม่บท Ict ศธ
 
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
 
การติดต่อสื่อสาร
การติดต่อสื่อสารการติดต่อสื่อสาร
การติดต่อสื่อสาร
 
20190220 open-library
20190220 open-library20190220 open-library
20190220 open-library
 
Data Seal ... Comment in Thailand
Data Seal ... Comment in ThailandData Seal ... Comment in Thailand
Data Seal ... Comment in Thailand
 
Museum digital-code
Museum digital-codeMuseum digital-code
Museum digital-code
 
Benefits of the internet education
Benefits of the internet educationBenefits of the internet education
Benefits of the internet education
 
เทคนิคการสอนยุค It
เทคนิคการสอนยุค Itเทคนิคการสอนยุค It
เทคนิคการสอนยุค It
 
การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เพื่อให้บริ...
การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์   เพื่อให้บริ...การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์   เพื่อให้บริ...
การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เพื่อให้บริ...
 
การเรียนการสอนด้วย Tablet
การเรียนการสอนด้วย Tabletการเรียนการสอนด้วย Tablet
การเรียนการสอนด้วย Tablet
 
Tablet1
Tablet1Tablet1
Tablet1
 
หลากหลายวิธีการใช้ Ict เพื่อการเรียนการสอน
หลากหลายวิธีการใช้ Ict เพื่อการเรียนการสอนหลากหลายวิธีการใช้ Ict เพื่อการเรียนการสอน
หลากหลายวิธีการใช้ Ict เพื่อการเรียนการสอน
 
Online learning lms
Online learning lms Online learning lms
Online learning lms
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ
 

Similar to Open Educational Resources for User

โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์heartherher
 
ใบงานที่ 2-8 : โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 2-8 : โครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 2-8 : โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 2-8 : โครงงานคอมพิวเตอร์Sirikanya Pota
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Thanyaret Kongraj
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์nolmolcy001
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์ โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์ noeiinoii
 
Computerproject3418
Computerproject3418Computerproject3418
Computerproject3418Review Wlp
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์noeiinoii
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Cin Pichita
 
น.ส.วรัชยา แซ่เตียวม.5 1 เลขที่20
น.ส.วรัชยา แซ่เตียวม.5 1 เลขที่20น.ส.วรัชยา แซ่เตียวม.5 1 เลขที่20
น.ส.วรัชยา แซ่เตียวม.5 1 เลขที่20varatkhimhihi
 
น.ส.วรัชยา แซ่เตียวม.5 1 เลขที่20
น.ส.วรัชยา แซ่เตียวม.5 1 เลขที่20น.ส.วรัชยา แซ่เตียวม.5 1 เลขที่20
น.ส.วรัชยา แซ่เตียวม.5 1 เลขที่20varatkhimhihi
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Cin Pichita
 
Cognitive Tools for Open-Ended Learning Environments
Cognitive Tools for Open-Ended Learning EnvironmentsCognitive Tools for Open-Ended Learning Environments
Cognitive Tools for Open-Ended Learning EnvironmentsSuthakorn Chatsena
 
2 8edit-140916022926-phpapp02
2 8edit-140916022926-phpapp022 8edit-140916022926-phpapp02
2 8edit-140916022926-phpapp02Sarawut Fuekhat
 
กิจกรรม2 8
กิจกรรม2 8กิจกรรม2 8
กิจกรรม2 8Pavit Wongkajit
 
ก จกรรม2 8
ก จกรรม2 8ก จกรรม2 8
ก จกรรม2 8momaysnail
 
ใบงานที่4
ใบงานที่4ใบงานที่4
ใบงานที่4juice1414
 
โครงงานคอม1
โครงงานคอม1โครงงานคอม1
โครงงานคอม1Thanyalux Kanthong
 
โครงงานคอม1
โครงงานคอม1โครงงานคอม1
โครงงานคอม1Thanyalux Kanthong
 
โครงงานคอม1
โครงงานคอม1โครงงานคอม1
โครงงานคอม1Thanyalux Kanthong
 

Similar to Open Educational Resources for User (20)

โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
ใบงานที่ 2-8 : โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 2-8 : โครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 2-8 : โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 2-8 : โครงงานคอมพิวเตอร์
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์ โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
Computerproject3418
Computerproject3418Computerproject3418
Computerproject3418
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
น.ส.วรัชยา แซ่เตียวม.5 1 เลขที่20
น.ส.วรัชยา แซ่เตียวม.5 1 เลขที่20น.ส.วรัชยา แซ่เตียวม.5 1 เลขที่20
น.ส.วรัชยา แซ่เตียวม.5 1 เลขที่20
 
น.ส.วรัชยา แซ่เตียวม.5 1 เลขที่20
น.ส.วรัชยา แซ่เตียวม.5 1 เลขที่20น.ส.วรัชยา แซ่เตียวม.5 1 เลขที่20
น.ส.วรัชยา แซ่เตียวม.5 1 เลขที่20
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
h6ju
h6juh6ju
h6ju
 
Cognitive Tools for Open-Ended Learning Environments
Cognitive Tools for Open-Ended Learning EnvironmentsCognitive Tools for Open-Ended Learning Environments
Cognitive Tools for Open-Ended Learning Environments
 
2 8edit-140916022926-phpapp02
2 8edit-140916022926-phpapp022 8edit-140916022926-phpapp02
2 8edit-140916022926-phpapp02
 
กิจกรรม2 8
กิจกรรม2 8กิจกรรม2 8
กิจกรรม2 8
 
ก จกรรม2 8
ก จกรรม2 8ก จกรรม2 8
ก จกรรม2 8
 
ใบงานที่4
ใบงานที่4ใบงานที่4
ใบงานที่4
 
โครงงานคอม1
โครงงานคอม1โครงงานคอม1
โครงงานคอม1
 
โครงงานคอม1
โครงงานคอม1โครงงานคอม1
โครงงานคอม1
 
โครงงานคอม1
โครงงานคอม1โครงงานคอม1
โครงงานคอม1
 

More from Boonlert Aroonpiboon

More from Boonlert Aroonpiboon (20)

Excel quiz
Excel quizExcel quiz
Excel quiz
 
Scival for Research Performance
Scival for Research PerformanceScival for Research Performance
Scival for Research Performance
 
20190726 icde-session-chularat-nstda-4
20190726 icde-session-chularat-nstda-420190726 icde-session-chularat-nstda-4
20190726 icde-session-chularat-nstda-4
 
20190220 digital-archives
20190220 digital-archives20190220 digital-archives
20190220 digital-archives
 
OER KKU Library
OER KKU LibraryOER KKU Library
OER KKU Library
 
OER MOOC - Success Story
OER MOOC - Success StoryOER MOOC - Success Story
OER MOOC - Success Story
 
LAM Code of conduct
LAM Code of conductLAM Code of conduct
LAM Code of conduct
 
RLPD - OER MOOC
RLPD - OER MOOCRLPD - OER MOOC
RLPD - OER MOOC
 
New Technology for Information Services
New Technology for Information ServicesNew Technology for Information Services
New Technology for Information Services
 
digital law for GLAM
digital law for GLAMdigital law for GLAM
digital law for GLAM
 
20180919 digital-collections
20180919 digital-collections20180919 digital-collections
20180919 digital-collections
 
Field-Weighted Citation Impact (FWCI)
Field-Weighted Citation Impact (FWCI)Field-Weighted Citation Impact (FWCI)
Field-Weighted Citation Impact (FWCI)
 
20180828 digital-archives
20180828 digital-archives20180828 digital-archives
20180828 digital-archives
 
Local Wisdom Information : How to
Local Wisdom Information : How toLocal Wisdom Information : How to
Local Wisdom Information : How to
 
201403 etda-library-settup
201403 etda-library-settup201403 etda-library-settup
201403 etda-library-settup
 
201403 etda-library
201403 etda-library201403 etda-library
201403 etda-library
 
Data in Digital Era
Data in Digital EraData in Digital Era
Data in Digital Era
 
20170213 digital-archives
20170213 digital-archives20170213 digital-archives
20170213 digital-archives
 
Digital Economy Plan of Thailand : Slide
Digital Economy Plan of Thailand : SlideDigital Economy Plan of Thailand : Slide
Digital Economy Plan of Thailand : Slide
 
Digital Economy Plan of Thailand
Digital Economy Plan of ThailandDigital Economy Plan of Thailand
Digital Economy Plan of Thailand
 

Open Educational Resources for User

  • 1. แนวปฏิบัติในการจัดการทรัพยากรการศึกษาแบบเปิด (ฉบับผู้ใช้งาน) 1 แนวปฏิบัติในการจัดการทรัพยากรการศึกษาแบบเปิด (ฉบับผู้ใช้งาน) โครงการระบบสื่อสาระออนไลน์เพื่อการเรียนรู้ทางไกลเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในวโรกาส ฉลองพระชนมายุ 5 รอบ 2 เมษายน 2558 เอกสารนี้เป็นเอกสารที่จัดทาขึ้นเพื่อมอบให้กับหน่วยงาน ที่เข้าร่วมโครงการระบบสื่อสาระออนไลน์ เพื่อการเรียนรู้ทางไกลฯ เพื่อนาไปบริหารจัดการและรู้วิธีกาหนดเงื่อนไขในการใช้งานทรัพยากรการศึกษา แบบเปิด อันจะเป็นองค์ประกอบสาคัญของ “การก้าวสู่สังคมการเรียนรู้แบบแบ่งปัน” เนื่องจากการเรียนรู้ ที่มีคุณค่า ก็คือ การเรียนรู้แบบร่วมมือ การแบ่งปันความรู้ ไม่ยึดถือในความเป็นเจ้าของมากเกินไป จนไป ขัดโอกาสการเข้าถึงโอกาสการเรียนรู้ของผู้อื่น แนวคิดการสร้างช่องทางการเรียนรู้ที่เข้าถึงได้อิสระเสรี จึงเป็นแนวคิดของการส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต (Lifelong Learning) โดยมีหัวใจสาคัญอยู่ที่การแบ่งปัน แหล่งทรัพยากรด้านการศึกษาที่มีคุณภาพสู่สังคมโลกเพื่อนาไปใช้ประโยชน์ทางด้านการศึกษาได้อย่างเสรี ผู้เขียน : นายบุญเลิศ อรุณพิบูลย์ รองผู้อานวยการฝ่ายบริการความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ เวอร์ชั่น : 1 / 10 พฤศจิกายน 2557
  • 2. แนวปฏิบัติในการจัดการทรัพยากรการศึกษาแบบเปิด (ฉบับผู้ใช้งาน) 2 แนวปฏิบัติในการจัดการทรัพยากรการศึกษาแบบเปิด (ฉบับผู้ใช้งาน) ทรัพยากรการศึกษาแบบเปิดคือ ??? คาถามแรกเมื่อเริ่มพูดคุยเกี่ยวกับ ทรัพยากรการศึกษาแบบเปิด1 หรือ OER – Open Educational Resources ก็ย่อมหนีไม่พ้นในความหมายว่าทรัพยากรการศึกษาแบบเปิด คืออะไรล่ะ ??? ก่อนจะพูดถึง ความหมาย ขอให้ลองอ่านบทสนทนานี้ก่อนนะครับ จากบทสนทนาข้างต้น ก็คงจะเห็นภาพชัดว่าการทาเอกสาร หรือสื่อการเรียนการสอนใดๆ ย่อมต้อง อาศัยทรัพยากรจากที่ต่างๆ มาประกอบ ทั้งเนื้อหา ภาพนิ่ง ภาพถ่าย ภาพเคลื่อนไหว VDO Clip สื่อ Animation ทรัพยากรที่กล่าวมาทั้งต้น ก็คือ ทรัพยากรการศึกษาหรือ ER – Educational Resources นั่นเอง แม้กระทั่งสไลด์ที่สร้างด้วยทรัพยากรดังกล่าว ก็นับเป็นทรัพยากรการศึกษาเช่นกัน แล้วทรัพยากร การศึกษาแบบเปิดล่ะต่างจากทรัพยากรการศึกษาทั่วๆ ไป อย่างไร 1 คาศัพท์ที่ปรากฏในเอกสาร “ปฏิญญากรุงปารีสด้านแหล่งทรัพยากรการศึกษาแบบเปิด พ.ศ. ๒๕๕๕ : 2012 PARIS OER DECLARATION” http://www.unesco.org/new/fileadmin/MULTIMEDIA/HQ/CI/WPFD2009/Thai_version_of_the_2012_PARIS_OER_DECLARATION.pdf อาจารย์ ก.: สมใจ อย่าลืมทาสไลด์เนื้อหาการพัฒนาการอินเทอร์เน็ตมาส่งล่ะ สมใจ: ค่ะอาจารย์ ... สมใจ: อาจารย์ค่ะ ขอส่งสไลด์ค่ะ อาจารย์ ก.: ดีๆๆๆ น่าสนใจมาก มีทั้งเนื้อหาและภาพประกอบชัดเจนมาก แถมยังมีภาพเคลื่อนไหว และ VDO Clip ประกอบอีกด้วย สมใจ: ขอบคุณค้า ... ก็สไลด์เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตนี่ค่ะ ก็ต้องใช้ อินเทอร์เน็ตให้เป็นประโยชน์ เนื้อหาหนูอ่านจากหนังสือและ ค้นจากเว็บ ส่วนภาพและสื่ออื่นๆ ค้นจากเว็บเป็นหลักค่ะ
  • 3. แนวปฏิบัติในการจัดการทรัพยากรการศึกษาแบบเปิด (ฉบับผู้ใช้งาน) 3 การสร้างเอกสาร หรือสื่อการเรียนการสอนเมื่อไม่สามารถเลี่ยงได้ที่จะต้องนาทรัพยากรจากที่ต่างๆ มาใช้ประกอบการสร้าง ย่อมแปลว่า ความเสี่ยงอันเกิดจากประเด็นทรัพย์สินทางปัญญา ตาม พรบ. ลิขสิทธิ์ ย่อมมีตามมาแน่นอน ความเชื่อว่า “การได้รับการยกเว้นจากการเรียนการสอน” เป็นเหตุสาคัญที่เกิดปัญหา ดังข้างต้น พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 25372 ได้กล่าวถึง “ข้อยกเว้นการละเมิดลิขสิทธิ์” ที่เกี่ยวกับการเรียน การสอน ไว้ในวรรคสองของมาตรา 32 และมาตรา 33 โดยได้โยงประเด็นสาคัญไว้ที่วรรคหนึ่งมาตรา 32 ทั้งนี้ข้อความดังกล่าวมีลักษณะเป็น “นามธรรม” ต่อมากรมทรัพย์สินทางปัญญา ได้จัดทา “คู่มือการใช้งานลิขสิทธิ์ที่เป็นธรรมสาหรับการเรียนการสอน”3 เพื่ออธิบายรายละเอียดมาตรา 32 และ 2 Public Law Net : เครือข่ายกฎหมายมหาชนไทย. “พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. ๒๕๓๗.” Accessed November 16, 2014. http://www.pub- law.net/library/act_copyright.html. 3 กรมทรัพย์สินทางปัญญา. “คู่มือการใช้งานลิขสิทธิ์ที่เป็นธรรมสาหรับการเรียนการสอน.” Accessed November 16, 2014. http://203.209.117.203/ipthailand/index.php?option=com_content&task=view&id=671&Itemid=198. อาจารย์ ก.: เอ๋ เกิดอะไรขึ้นหรือนี่ มีจดหมายฟ้องมาจากบริษัท A ว่าโรงเรียน เราละเมิดลิขสิทธิ์ภาพ หรือนี่ แต่ภาพทั้งหมดนี่ เป็นภาพจาก สไลด์ที่สมใจทาและส่งเผยแพร่ผ่าน Social Media นี่ เกิดเหตุการณ์นี้ได้อย่างไร ก็เป็นสไลด์เพื่อการเรียนการสอน ไม่น่าจะเกิดเหตุการณ์นี้ได้ เพราะน่าจะได้รับการยกเว้นนี่น่า ครู อาจารย์ นักเรียน นักศึกษา และบุคลากรทางการศึกษาส่วนใหญ่ยังเชื่อว่า “การนาทรัพยากรใดๆ มาใช้เพื่อการเรียนการสอน จะได้รับการยกเว้นการละเมิดลิขสิทธิ์” โดยไม่มีข้อจากัด การกระทาแก่งานอันมีลิขสิทธิ์ของบุคคลอื่นตามพระราชบัญญัตินี้ หากไม่ขัดต่อ การแสวงหาประโยชน์จากงานอันมีลิขสิทธิ์ตามปกติของเจ้าของลิขสิทธิ์และ ไม่กระทบกระเทือนถึงสิทธิอันชอบด้วยกฎหมายของเจ้าของลิขสิทธิ์เกินสมควร มิให้ถือว่าเป็นการละเมิดลิขสิทธิ์
  • 4. แนวปฏิบัติในการจัดการทรัพยากรการศึกษาแบบเปิด (ฉบับผู้ใช้งาน) 4 มาตรา 33 ของพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 ซึ่งได้อธิบายประเด็นนามธรรมของวรรคหนึ่งมาตรา 32 ให้เป็น “รูปธรรม” เช่น จึงไม่ใช่เหตุการณ์ผิดปกติที่โรงเรียนของอาจารย์ ก. จะถูกฟ้องฐานละเมิดลิขสิทธิ์ภาพ แม้ว่าภาพ ดังกล่าวจะถูกใช้ในการเรียนการสอน พระเอกขี่ม้าขาวมาช่วยแล้วครับ “ทรัพยากรการศึกษาแบบเปิด” เลยครับ ซึ่งก็คือ ทรัพยากร การศึกษาที่ผู้สร้างสรรค์ได้อนุญาตให้ผู้สนใจนาไปใช้งานได้ภายใต้เงื่อนไขที่กาหนด โดยไม่จาเป็นต้องขออนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษร สามารถเผยแพร่ได้ทั้งรูปแบบเอกสาร สิ่งพิมพ์ และเอกสารออนไลน์ ทั้งนี้บางชิ้นของทรัพยากรยังอนุญาตให้ปรับเปลี่ยนแก้ไขได้ด้วย โดยการอนุญาต ดังกล่าวกระทาภายใต้ “สัญญาอนุญาตแบบเปิด” ซึ่งอาจจะเป็นสัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์ (Creative Commons) หรือสัญญาอนุญาตสมบัติสาธารณะ (Public Domain) รวมทั้ง Open Access ต่อไปนี้ การสืบค้น หรือเลือกภาพ สื่อใดๆ มาประกอบการทา เอกสารบทเรียน ต้องใส่ใจ “สัญญาอนุญาตแบบเปิด” โอ้... แย่เลยสิครับแบบนี้ จะทายังไงต่อดีล่ะ ผู้สอนและผู้เรียนดาวน์โหลดภาพจากอินเทอร์เน็ต เพื่อใช้ในการศึกษาได้ในปริมาณ เท่ากับ 4.4.1 แต่จะอัพโหลดงานนั้นกลับขึ้นบนอินเทอร์เน็ตไม่ได้ หากไม่ได้รับอนุญาต จากเจ้าของลิขสิทธิ์
  • 5. แนวปฏิบัติในการจัดการทรัพยากรการศึกษาแบบเปิด (ฉบับผู้ใช้งาน) 5 รูปแสดงสัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์ รูปแสดงบทความทางวิชาการที่เผยแพร่แบบ Open Access ในยุคปัจจุบัน แม้ว่ากระแสทรัพย์สินทางปัญญาจะทวีความรุนแรง แต่ก็ส่งผลให้มีบุคคล หรือ หน่วยงานที่สนใจ “ถ่วงดุล” ประเด็นดังกล่าว โดยการสร้างสรรค์ และเผยแพร่ผลงานที่ตนเองสร้างสรรค์ ภายใต้สัญญาอนุญาตแบบเปิดมากขึ้น ดังเช่น Clipart สวยงามจานวนมากที่มีคุณภาพสูง พร้อมเครื่องมือ ปรับแก้ไขได้อิสระแบบออนไลน์จากเว็บไซต์ http://openclipart.org ที่อนุญาตให้ผู้ใช้เลือกใช้ผลงานที่ สร้างสรรค์และเผยแพร่ภายใต้สัญญาอนุญาตสมบัติสาธารณะ
  • 6. แนวปฏิบัติในการจัดการทรัพยากรการศึกษาแบบเปิด (ฉบับผู้ใช้งาน) 6 จากหน้าเว็บไซต์ http://openclipart.org หากเลื่อนจอภาพลงมาถึงส่วนท้ายของหน้าเว็บ จะพบ ข้อความแสดงสัญญาอนุญาต ดังนี้ รูปแสดงสัญญาอนุญาตสมบัติสาธารณะ นอกจากนี้เว็บไซต์ http://search.creativecommons.org ก็เป็นเว็บบริการสืบค้นข้อมูลที่เผยแพร่ ด้วยสัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์ แหล่งใหญ่มากแหล่งหนึ่ง ทั้งนี้เว็บไซต์ http://search.creativecommons.org เป็นเสมือนบริการกลางที่ช่วยให้สามารถ กาหนดเงื่อนไขการสืบค้นทรัพยากรทางการศึกษาแบบเปิดจากหลายๆ เว็บ ทั้ง Google Images, Flickr, Open Clip Art
  • 7. แนวปฏิบัติในการจัดการทรัพยากรการศึกษาแบบเปิด (ฉบับผู้ใช้งาน) 7 เว็บไซต์ http://oercommons.org/ ก็ทาหน้าที่ที่ไม่ต่างกัน ซึ่งนับเป็นเว็บกลางของทรัพยากร การศึกษาแบบเปิดเลยก็ว่าได้ แม้กระทั่ง Google Images ซึ่งเป็นเครื่องมือช่วยสืบค้นภาพที่ได้รับความนิยมมากที่สุด ก็ได้ตระหนัก ถึงประเด็นทรัพย์สินทางปัญญา ได้พัฒนาความสามารถในการสืบค้นโดยการกรองด้วยเงื่อนไขสัญญาอนุญาต ดังนี้ ป้อนคาค้นที่ต้องการ เมื่อปรากฏผลลัพธ์ให้เลือกตัวเลือก Search tools, Usage rights ก็จะปรากฏ ตัวเลือกเงื่อนไขตามที่ผู้ใช้ต้องการใช้ เช่น reuse with modification ซึ่งแสดงว่าต้องการค้นภาพที่ผู้ สร้างสรรค์อนุญาตให้ปรับแก้ไขได้
  • 8. แนวปฏิบัติในการจัดการทรัพยากรการศึกษาแบบเปิด (ฉบับผู้ใช้งาน) 8 ใส่ใจกับสัญญาอนุญาตก่อนเลือกใช้งาน เมื่อรู้จักกับสัญญาอนุญาตแบบเปิด สิ่งสาคัญคือ การใช้งานทรัพยากรการศึกษาให้ถูกต้องตามที่ สัญญาอนุญาตกาหนด โดยเฉพาะสัญญาอนุญาตครีเอทิฟคอมมอนส์ ดังนี้ ทรัพยากรการศึกษาใด กากับด้วยสัญลักษณ์ แสดงว่าผู้สร้างสรรค์อนุญาตให้เผยแพร่ ดัดแปลง โดยต้องระบุที่มา ทรัพยากรการศึกษาใด กากับด้วยสัญลักษณ์ แสดงว่าผู้สร้างสรรค์อนุญาตให้เผยแพร่ ดัดแปลง โดยต้องระบุที่มาและต้องเผยแพร่งานดัดแปลงโดยใช้สัญญาอนุญาตเดียวกัน ทรัพยากรการศึกษาใด กากับด้วยสัญลักษณ์ แสดงว่าผู้สร้างสรรค์อนุญาตให้เผยแพร่ โดยต้องระบุที่มา แต่ห้ามดัดแปลง ทรัพยากรการศึกษาใด กากับด้วยสัญลักษณ์ แสดงว่าผู้สร้างสรรค์อนุญาตให้เผยแพร่ ดัดแปลง โดยต้องระบุที่มาแต่ ห้ามใช้เพื่อการค้า ทรัพยากรการศึกษาใด กากับด้วยสัญลักษณ์ แสดงว่าผู้สร้างสรรค์อนุญาตให้เผยแพร่ ดัดแปลง โดยต้องระบุที่มาแต่ห้ามใช้เพื่อการค้าและต้องเผยแพร่งานดัดแปลงโดยใช้สัญญาอนุญาตชนิด เดียวกัน ทรัพยากรการศึกษาใด กากับด้วยสัญลักษณ์ แสดงว่าผู้สร้างสรรค์อนุญาตให้เผยแพร่ โดยต้องระบุที่มาแต่ห้ามดัดแปลงและห้ามใช้เพื่อการค้า โครงการระบบสื่อสาระออนไลน์เพื่อการเรียนรู้ทางไกล เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในวโรกาสฉลองพระชนมายุ 5 รอบ 2 เมษายน 2558 ภายใต้คาแนะนาโดย ดร.ทวีศักดิ์ กออนันตกูล ผู้อานวยการสานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ จึงหวังว่า “คลังทรัพยากร การศึกษาแบบเปิด” ของประเทศไทย คงถึงเวลาแล้วที่จะเริ่มต้น ณ วันนี้ พร้อมทั้งนี้ท่านได้กรุณาให้คาแนะนา ก่อนปิดท้ายเนื้อหาไว้ดังนี้ 1. ทุกสรรพสิ่งที่เห็นและอ่านได้ในอินเทอร์เน็ต มีเจ้าของ 2. การนามาทาสาเนาและเผยแพร่ต่อ ต้องศึกษาว่าเจ้าของเขาอนุญาตหรือไม่ 3. การนาสรรพสิ่งมาใช้ต่ออย่างปลอดภัยและถูกกฎหมาย มีหลายรายการที่เจ้าของเขาให้ใช้ โดยไม่ต้องขอ ดูให้ดี 4. เมื่อทาตามอย่างมีสติ จะปลอดภัย และเป็นแบบอย่างที่ดีแก่นักเรียน