SlideShare a Scribd company logo
1 of 12
Download to read offline
แนวปฏิบัติในการจัดการทรัพยากรการศึกษาแบบเปิด (ฉบับผู้สร้างสรรค์) 1 
แนวปฏิบัติในการจัดการทรัพยากรการศึกษาแบบเปิด (ฉบับผู้สร้างสรรค์) 
โครงการระบบสื่อสาระออนไลน์เพื่อการเรียนรู้ทางไกลเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในวโรกาส ฉลองพระชนมายุ 5 รอบ 2 เมษายน 2558 
เอกสารนี้เป็นเอกสารที่จัดทาขึ้นเพื่อมอบให้กับหน่วยงาน ที่เข้าร่วมโครงการระบบสื่อสาระออนไลน์ เพื่อการเรียนรู้ทางไกลฯ เพื่อนาไปบริหารจัดการและรู้วิธีกาหนดเงื่อนไขในการใช้งานทรัพยากรการศึกษา แบบเปิด อันจะเป็นองค์ประกอบสาคัญของ “การก้าวสู่สังคมการเรียนรู้แบบแบ่งปัน” เนื่องจากการเรียนรู้ ที่มีคุณค่า ก็คือ การเรียนรู้แบบร่วมมือ การแบ่งปันความรู้ ไม่ยึดถือในความเป็นเจ้าของมากเกินไป จนไป ขัดโอกาสการเข้าถึงโอกาสการเรียนรู้ของผู้อื่น แนวคิดการสร้างช่องทางการเรียนรู้ที่เข้าถึงได้อิสระเสรี จึงเป็นแนวคิดของการส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต (Lifelong Learning) โดยมีหัวใจสาคัญอยู่ที่การแบ่งปัน แหล่งทรัพยากรด้านการศึกษาที่มีคุณภาพสู่สังคมโลกเพื่อนาไปใช้ประโยชน์ทางด้านการศึกษาได้อย่างเสรี 
ผู้เขียน : นายบุญเลิศ อรุณพิบูลย์ 
รองผู้อานวยการฝ่ายบริการความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ เวอร์ชั่น : 1 / 10 พฤศจิกายน 2557
แนวปฏิบัติในการจัดการทรัพยากรการศึกษาแบบเปิด (ฉบับผู้สร้างสรรค์) 2 
แนวปฏิบัติในการจัดการทรัพยากรการศึกษาแบบเปิด (ฉบับผู้สร้างสรรค์) 
สัญญาอนุญาตแบบเปิด 
สัญลักษณ์นี้ แสดงว่า “การใช้งานต้องได้รับอนุญาตจากผู้สร้างสรรค์ เป็นลายลักษณ์อักษร” 
สัญลักษณ์นี้ แสดงว่า “ผู้สร้างสรรค์ยินยอมให้ใช้ผลงานของตนเองได้ โดยไม่ต้องขออนุญาต โดยอยู่ภายใต้เงื่อนไขที่ผู้สร้างสรรค์กาหนด” 
สมใจ: อาจารย์ค่ะ วันนี้หนูลองเข้าไปเว็บไซต์ของ สสส. แล้วพบข้อความ (cc) ด้านล่างของเว็บ น่าสนใจมากค่ะ แต่ไม่ทราบว่าคืออะไร 
อาจารย์ ก.: อ้อข้อความ “ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาต แบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย” ... ข้อความนี้เรียกว่า “สัญญา อนุญาตครีเอทิฟคอมมอนส์” แสดงว่า สสส. ประกาศให้ทุกคน ทราบว่า “เนื้อหาและสื่อในเว็บไซต์นี้ อนุญาตให้ใช้งานได้ครับ โดย ต้องอ้างอิงที่มา และห้ามนาผลงานดังกล่าวไปขาย” 
สมใจ: โอ้ มีแบบนี้ด้วยหรือนี่ เคยเห็นแต่คาว่า “สงวนลิขสิทธิ์” 
อาจารย์ ก: ใช่แล้วล่ะ ปัจจุบันมีการกาหนดสัญญาอนุญาตให้ผู้ใช้งานทราบว่า ผลงานต่างๆ อนุญาตให้ใช้งานได้ระดับใด มากกว่าเดิมนะ
แนวปฏิบัติในการจัดการทรัพยากรการศึกษาแบบเปิด (ฉบับผู้สร้างสรรค์) 3 
เว็บไซต์ของสานักงานกองทุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) เป็นกรณีตัวอย่างที่น่าสนใจ โดยจะพบว่า สสส. ได้เลือกใช้สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์ในการบริการข้อมูลของ สสส. 
ซึ่งแสดงว่า สสส. อนุญาตให้ทุกคนสามารถใช้ข้อมูล เนื้อหา และสื่อที่เผยแพร่ผ่านเว็บไซต์ของ สสส. ได้โดยไม่ต้องขออนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจาก สสส. เพียงแต่ขอให้อ้างอิงที่มาของผลงาน ผลงานใหม่ที่ได้ ห้ามนาไปหารายได้ และต้องใช้สัญญาอนุญาตครีเอทิฟคอมมอนส์เช่นเดียวกันในการเผยแพร่ 
นอกจากเว็บไซต์ของ สสส. ยังมีอีกหลายหน่วยงานในประเทศไทย ที่เริ่มเผยแพร่ผลงานของตนเอง ด้วยสัญญาอนุญาตครีเอทิฟคอมมอนส์ เช่น เอกสารสิ่งพิมพ์และเว็บไซต์ที่ดาเนินการโดยฝ่ายบริการความรู้ทาง วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (STKS) ห้องสมุดกลาง ของ สวทช.
แนวปฏิบัติในการจัดการทรัพยากรการศึกษาแบบเปิด (ฉบับผู้สร้างสรรค์) 4 
นอกจากสัญญาอนุญาตครีเอทิฟคอมมอนส์ ยังมีสัญญาอนุญาตสมบัติสาธารณะ (Public Domain License) ดังเช่น เว็บไซต์บริการ Clipart สวยงามจานวนมากที่มีคุณภาพสูง พร้อมเครื่องมือปรับแก้ไขได้อิสระ แบบออนไลน์จากเว็บไซต์ http://openclipart.org 
ทั้งสัญญาอนุญาตครีเอทิฟคอมมอนส์ และสัญญาอนุญาตสมบัติสาธารณะ ต่างก็เป็นสัญญาอนุญาต แบบเปิดที่เป็นองค์ประกอบสาคัญของ “การก้าวสู่สังคมการเรียนรู้แบบแบ่งปัน” เนื่องจากการเรียนรู้ที่มี คุณค่า ก็คือ การเรียนรู้แบบร่วมมือ การแบ่งปันความรู้ ไม่ยึดถือในความเป็นเจ้าของมากเกินจนไปขัดโอกาส การเข้าถึง โอกาสการเรียนรู้ของผู้อื่น แนวคิดการสร้างช่องทางการเรียนรู้ที่เข้าถึงได้อิสระเสรี จึงเป็นแนวคิด ของการส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต (Lifelong Learning) โดยมีหัวใจสาคัญอยู่ที่การแบ่งปันแหล่งทรัพยากร ด้านการศึกษาที่มีคุณภาพสู่สังคมโลกเพื่อนาไปใช้ประโยชน์ทางด้านการศึกษาได้อย่างเสรี 
ในยุคปัจจุบัน แม้ว่ากระแสทรัพย์สินทางปัญญาจะทวีความรุนแรง แต่ก็ส่งผลให้มีบุคคล หรือ หน่วยงานที่สนใจ “ถ่วงดุล” ประเด็นดังกล่าว โดยการสร้างสรรค์ และเผยแพร่ผลงานที่ตนเองสร้างสรรค์ ภายใต้สัญญาอนุญาตแบบเปิดมากขึ้น 
ทรัพยากรการศึกษาแบบเปิด 
สื่อใดๆ ที่ถูกสร้างสรรค์ด้วยสัญญาอนุญาตลักษณะข้างต้น และถูกนามาใช้ในประกอบกิจกรรมการ เรียนการสอน จะเรียกว่า “ทรัพยากรการศึกษาแบบเปิด”1 - OER: Open Educational Resources 
1 คำศัพท์ที่ปรำกฏในเอกสำร “ปฏิญญำกรุงปำรีสด้ำนแหล่งทรัพยำกรกำรศึกษำแบบเปิด พ.ศ. ๒๕๕๕ : 2012 PARIS OER DECLARATION” http://www.unesco.org/new/fileadmin/MULTIMEDIA/HQ/CI/WPFD2009/Thai_version_of_the_2012_PARIS_OER_DECLARATION.pdf 
ถึงเวลาแล้วหรือยังที่ประเทศไทย ควรร่วมกันสร้างสรรค์ เผยแพร่ 
สื่อในรูปแบบต่างๆ เพื่อสนับสนุนการเรียนการสอนที่ถูกลิขสิทธิ์ 
“ร่วมสร้างสังคมการเรียนรู้แบบแบ่งปัน เพื่อการพัฒนาต่อยอดที่ยั่งยืน”
แนวปฏิบัติในการจัดการทรัพยากรการศึกษาแบบเปิด (ฉบับผู้สร้างสรรค์) 5 
ซึ่งก็คือ ทรัพยากรการศึกษาที่ผู้สร้างสรรค์ได้อนุญาตให้ผู้สนใจนาไปใช้งานได้ภายใต้ เงื่อนไขที่กาหนดโดยไม่จาเป็นต้องขออนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษร สามารถเผยแพร่ได้ทั้ง รูปแบบสิ่งพิมพ์ และออนไลน์ บางชิ้นของทรัพยากรยังอนุญาตให้ปรับเปลี่ยนแก้ไขได้ด้วย โดยการอนุญาต ดังกล่าวกระทาภายใต้ “สัญญาอนุญาตแบบเปิด” ซึ่งอาจจะเป็นสัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์ (Creative Commons) หรือสัญญาอนุญาตสมบัติสาธารณะ (Public Domain) รวมทั้ง Open Access 
ทรัพยากรการศึกษาแบบเปิด ได้รับการนิยามขึ้นในการอภิปรายขององค์การศึกษา วิทยาศาสตร์ และ วัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (UNESCO) ด้านบทเรียนแบบเปิด (Open Courseware) โดยมีความหมาย รวมถึง สื่อการเรียนการสอน สื่อการเรียนรู้ สื่องานวิจัย ในรูปแบบดิจิทัลหรือไม่ก็ตาม ที่อยู่ในสาธารณะสมบัติ (public domain) หรือได้รับการเผยแพร่ด้วยใบอนุญาตแบบเปิดที่อนุญาตให้สามารถเข้าถึง ใช้งาน ดัดแปลง เปลี่ยนแปลง และเผยแพร่โดยปราศจากค่าใช้จ่าย ได้โดยบุคคลใดๆ โดยไม่มีการกาหนดข้อบังคับใดๆ โดยการ อนุญาตแบบเปิดนี้อยู่ภายใต้กรอบของสิทธิในทรัพย์สินทางปัญญาที่ได้กาหนดไว้โดยอนุสัญญาระหว่างประเทศ ที่เกี่ยวข้อง และความเคารพต่อผู้ที่เป็นเจ้าของผลงานนั้นๆ 
การร่วมกันสร้างสรรค์ เผยแพร่สื่อในรูปแบบต่างๆ เพื่อสนับสนุนการเรียนการสอนที่ถูกลิขสิทธิ์ ไม่ใช่ เรื่องยาก หรือลาบากเลย เพราะจริงๆ แล้วหน่วยงานภาคการศึกษา ภาครัฐต่างก็นาเงินภาษีจากรัฐบาลมาใช้ ในการสร้างสรรค์ผลงานต่างๆ อยู่แล้ว จึงควรที่จะนา “ผลผลิต” จากทุกผลงานที่ใช้เงินภาษีมาตั้งต้นเผยแพร่ ด้วยสัญญาอนุญาตแบบเปิดด้วย 
ทั้งนี้ทรัพยากรการศึกษาแบบเปิด สามารถจาแนกได้ ดังนี้ 
1. หลักสูตรและเนื้อหาแบบเปิด (open courseware and content) หลักสูตรการศึกษาฟรี ( free educational courses ) Open textbooks เช่น โครงการ Open Source Textbooks Project ของมหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย 
2. ซอฟต์แวร์ในกลุ่มเปิด (open software tools) โดยเฉพาะซอฟต์แวร์เพื่อการเรียนรู้ 
3. วัสดุเปิด (open material) ที่ออกแบบมาเพื่อใช้ในการสร้างหลักสูตรการเรียนการสอนทั้ง รูปแบบปกติ และรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ 
4. คลังของวัสดุการเรียน (Repositories of Learning Object) สาหรับเก็บรวบรวมวัสดุการเรียน เพื่ออานวยความสะดวกในการสืบค้น และเข้าถึงใช้งาน 
สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์ 
ทรัพยากรการศึกษาแบบเปิดเป็นแนวคิดที่ก้าวไปสู่การเข้าถึงและใช้ทรัพยากรการศึกษาได้อย่างเสรี อันครอบคลุมการให้ผู้ใช้สามารถสาเนา (copy) กระจาย (distribute) ปรับปรุง (improve) และ เปลี่ยนแปลง (change) ได้ โดยเฉพาะการใช้ในการศึกษาค้นคว้าและงานด้านวิชาการ อย่างไรก็ตาม ทรัพยากรการศึกษา แบบเปิดเป็นทรัพย์สินทางปัญญาประเภทหนึ่งที่ได้รับความคุ้มครองตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ เพื่อให้เกิดการ
แนวปฏิบัติในการจัดการทรัพยากรการศึกษาแบบเปิด (ฉบับผู้สร้างสรรค์) 6 
ใช้แหล่งทรัพยากรการศึกษาแบบเปิดอย่างถูกต้องและเป็นธรรม หลายหน่วยงานพยายามหาแนวทางการ แก้ปัญหานี้ แนวทางหนึ่งที่ได้รับการตอบรับอย่างแพร่หลาย คือการให้งานที่เป็นเนื้อหาการศึกษาได้รับ อนุญาตให้ใช้อย่างเปิดเผย หรือ แนวทางสัญญาอนุญาตแบบเปิด โดยสัญญาอนุญาตเปิดที่ได้รับความนิยมใน ปัจจุบัน คือ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์ (Creative Commons) 
สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์ (Creative Commons Licence: CC) เป็นสัญญาอนุญาตทาง ลิขสิทธิ์ประเภทหนึ่งพัฒนาโดย Hewlett Foundation study องค์กรไม่แสวงกาไร วัตถุประสงค์ของสัญญานี้ เพื่อให้เจ้าของผลงานอันมีลิขสิทธิ์สามารถแสดงข้อความอันอานวยความสะดวกให้สาธารณชนรู้ถึงสิทธิ์ใน ผลงาน และทราบว่าจะนางานอันมีลิขสิทธ์ของตนไปใช้ได้โดยไม่ต้องขออนุญาตและไม่ถือว่าเป็นการละเมิด ลิขสิทธิ์ โดยผู้ที่นาผลงานไปใช้ต้องปฏิบัติตามเงื่อนไขที่กาหนดไว้ เช่น อ้างอิงแหล่งที่มา ไม่ใช่เพื่อการค้า ไม่ ดัดแปลงต้นฉบับ เป็นต้น รายละเอียดของแต่ละสัญญาอนุญาตนั้น ขึ้นอยู่กับรุ่นของสัญญา และประกอบไป ด้วยตัวเลือกจากเงื่อนไข 4 เงื่อนไข โดยได้มีการจัดทาสัญลักษณ์เงื่อนไขเป็น 4 ประเภท ซึ่งเครือข่ายครีเอทีฟ คอมมอนส์ประเทศไทย (http://cc.in.th) ได้ถอดความและนาสัญลักษณ์ 4 เงื่อนไขนั้นมาอธิบายไว้ดังนี้ 
แสดงที่มา/อ้างที่มา (Attribution - BY) 
อนุญาตให้ผู้อื่นทาซ้า แจกจ่าย หรือแสดงและ นาเสนอชิ้นงานดังกล่าว และสร้างงานดัดแปลงจาก ชิ้นงานดังกล่าว ได้เฉพาะกรณีที่ผู้นั้นได้แสดงเครดิต ของผู้เขียนหรือผู้ให้อนุญาตตามที่ระบุไว้ 
ไม่ใช้เพื่อการค้า (NonCommercial - NC) 
อนุญาตให้ผู้อื่นทาซ้า แจกจ่าย หรือแสดงและ นาเสนอชิ้นงานดังกล่าว และสร้างงานดัดแปลงจาก ชิ้นงานดังกล่าว ได้เฉพาะกรณีที่ไม่นาไปใช้ในทาง การค้า 
ไม่ดัดแปลง (No Derivative Works –ND) 
อนุญาตให้ผู้อื่นทาซ้า แจกจ่าย หรือแสดงและ นาเสนอชิ้นงานดังกล่าวในรูปแบบที่ไม่ถูกดัดแปลง เท่านั้น 
อนุญาตแบบเดียวกัน (Share Alike - SA) 
อนุญาตให้ผู้อื่นแจกจ่ายงานดัดแปลง เปลี่ยนรูปหรือ ต่อเติมงานได้เฉพาะกรณีที่ชิ้นงานดัดแปลงนั้น เผยแพร่ด้วยสัญญาอนุญาตที่เหมือนกันทุกประการ กับงานต้นฉบับ
แนวปฏิบัติในการจัดการทรัพยากรการศึกษาแบบเปิด (ฉบับผู้สร้างสรรค์) 7 
ร่วมกันสร้างสรรค์วัฒนธรรมการแบ่งปัน 
การร่วมกันสร้างสรรค์ และเผยแพร่สื่อด้วยสัญญาอนุญาตแบบเปิด สามารถทาได้ง่าย โดยเริ่มต้นจาก สัญญาอนุญาตครีเอทิฟคอมมอน์ ดังนี้ 
ขั้นตอนการจัดเตรียมและคัดเลือกทรัพยากร 
ขั้นตอนแรกของการเผยแพร่ทรัพยากรการศึกษาแบบเปิด เริ่มจากการจัดเตรียมและคัดเลือก ทรัพยากร โดยเน้นที่ทรัพยากรที่สร้างสรรค์เอง และพร้อมจะเผยแพร่ต่อสาธารณะ เช่น ภาพถ่ายดิจิทัล ที่ หน่วยงานหรือโรงเรียน เริ่มต้นได้ง่ายด้วยการเชิญชวนให้ครู นักเรียน นาภาพถ่าย (ปัจจุบันสะดวกมากเพราะ ใช้กล้องถ่ายภาพจากโทรศัพท์มือถือ) มาคัดเลือกด้วยเกณฑ์ที่กาหนด 
 ภาพถ่ายเกี่ยวกับดอกไม้ พรรณไม้ สถานที่ท่องเที่ยว ศิลปวัฒธรรม 
 ไม่ถ่ายบุคคลโดยไม่ได้รับอนุญาต และหรือห้ามถ่ายภาพเด็ก เยาวชน 
 ไม่ถ่ายผลงานอันเกิดจากการสร้างสรรค์ของผู้อื่น โดยเฉพาะผลงานดังกล่าวเป็นผลงาน เชิงพาณิชย์ 
เมื่อกาหนดเกณฑ์ดังข้างต้น ก็จัดเตรียมช่องทางจัดเก็บเผยแพร่ผลงาน เช่น การเผยแพร่ผ่าน Facebook หรือ Flickr.com จัดเตรียมและ คัดเลือก 
•จัดเตรียมทรัพยากรที่ต้องการเผยแพร่ โดยเน้นทรัพยากรที่สร้างสรรค์เอง และพร้อมเผยแพร่ต่อสาธารณะ 
•คัดเลือกทรัพยากรให้เป็นกลุ่มๆ ตามลักษณะการเผยแพร่ ระบุสัญญา อนุญาต 
•นาทรัพยากรมาระบุด้วยสัญญาอนุญาต กระบวนการ ทางดิจิทัล 
•แปลงสภาพทรัพยากรให้อยู่ในฟอร์แมตเอกสารดิจิทัล 
•ลงทะเบียนทรัพยากรผ่าน creativecommons.org 
•กากับเมดาทาดาให้เหมาะสมกับทรัพยากร
แนวปฏิบัติในการจัดการทรัพยากรการศึกษาแบบเปิด (ฉบับผู้สร้างสรรค์) 8 
รูปแสดงตัวอย่างการเผยแพร่ผลงานภาพถ่ายดิจิทัลผ่าน Facebook 
สาหรับทรัพยากรการศึกษาอื่นๆ ก็ใช้หลักการเดียว ดังนี้ 
แผ่นงาน กิจกรรม แผนการสอน เกม ในรูปแบบสิ่งพิมพ์ ที่สามารถเผยแพร่ต่อสาธารณะให้คัดเลือก ทั้งชิ้นงาน 
หนังสือ คู่มือเรียน … พิจารณา “ภาพประกอบ, แผนภาพ, ตาราง” ในหนังสือ หรือประสานกับผู้ จัดพิมพ์/หน่วยงานที่รับออกแบบจัดพิมพ์ตัวเล่ม ขอให้แยก “ภาพประกอบ, แผนภาพ, ตาราง” เป็นแฟ้มภาพ .PNG รายชิ้น 
บทเรียน eLearning สื่อ CAI สื่อมัลติมีเดียที่มีอยู่เดิม พิจารณาคัดเลือกแล้วดึงเฉพาะส่วนที่ต้องมา แปลงเป็นแฟ้มภาพ .PNG และหรือสื่อ Animation รายชิ้น 
สื่อนาเสนอ เอกสารงานพิมพ์ ต่างๆ ก็สามารถกาหนดเป็นทรัพยากรการศึกษาแบบเปิดได้ โดยขอให้ ตรวจสอบให้หมั่นใจว่า “องค์ประกอบที่นามาสร้างสรรค์สื่อนาเสนอ เอกสารงานพิมพ์” ดังกล่าวปลอดภัยจาก ประเด็นการละเมิดทรัพย์สินทางปัญญา เช่นเดียวกับสื่ออื่นๆ ดังข้างต้น เกณฑ์คัดเลือกที่สาคัญก็คือ “ปลอดภัยจากประเด็นการละเมิดทรัพย์สินทางปัญญา” 
สาหรับการว่าจ้างดาเนินการ ควรกาหนดรายละเอียดการส่งมอบผลงานด้วยเกณฑ์ข้างต้น จะช่วยลด ภาระการจัดเตรียมทรัพยากรการศึกษาแบบเปิด 
เมื่อจัดเตรียมทรัพยากรดังกล่าวแล้ว ก็คัดเลือกทรัพยากรไว้เป็นกลุ่มๆ เช่น 
 กลุ่มทรัพยากรที่อนุญาตให้ใช้งานได้ห้ามปรับแก้ไข (หากปรับแก้ไขอาจจะมีผลต่อการสื่อ ความหมาย การตีความ) 
 กลุ่มทรัพยากรที่อนุญาตให้ใช้งานได้ ปรับแก้ไขได้ 
 กลุ่มที่อนุญาตทุกอย่าง แม้จะนาไปหารายได้
แนวปฏิบัติในการจัดการทรัพยากรการศึกษาแบบเปิด (ฉบับผู้สร้างสรรค์) 9 
ขั้นระบุสัญญาอนุญาต 
เมื่อคัดเลือกทรัพยากรเป็นกลุ่มๆ แล้วก็สามารถระบุสัญญาอนุญาตครีเอทิฟคอมมอนส์ให้กับ ทรัพยากรได้สะดวกยิ่งขึ้น ดังนี้ 
• ทรัพยากรที่พร้อมเผยแพร่ อนุญาตให้ดัดแปลงได้ แม้กระทั่งการนาไปใช้เพื่อหารายได้ 
• ผลงานที่สร้างสรรค์เอง ไม่มีปัญหาลิขสิทธิ์/ทรัพย์สินทางปัญญา 
• เนื้อหาที่นาเสนอเป็นสาระทั่วไป ไม่มีผลต่อการสื่อความหมาย การตีความ ให้เผยแพร่ ดัดแปลง โดยต้องระบุ ที่มา 
• ทรัพยากรที่พร้อมเผยแพร่ และอนุญาตดัดแปลงได้ โดยต้องการคงสัญญาอนุญาตเดิม 
•ผลงานที่สร้างสรรค์เอง ไม่มีปัญหาลิขสิทธิ์/ทรัพย์สินทางปัญญา 
•เนื้อหาที่นาเสนอเป็นสาระทั่วไป ไม่มีผลต่อการสื่อความหมาย การตีความ 
• ผลงานสร้างสรรค์ด้วยงบประมาณแผ่นดิน ต้องการคงสภาพให้ทุกคนมีโอกาสใช้ ให้เผยแพร่ ดัดแปลง โดยต้องระบุ ที่มาและต้องเผยแพร่งานดัดแปลง โดยใช้สัญญาอนุญาตเดียวกัน 
• ทรัพยากรที่พร้อมเผยแพร่ แต่ไม่อนุญาตให้ดัดแปลง 
• ผลงานที่มีเนื้อหาอาจจะส่งผลต่อการสื่อความหมาย การตีความเอกสารต้นฉบับ ให้เผยแพร่ โดยต้องระบุที่มา แต่ ห้ามดัดแปลง 
• ทรัพยากรที่พร้อมเผยแพร่ อนุญาตให้ดัดแปลงได้ 
• ผลงานสร้างสรรค์ด้วยงบประมาณแผ่นดิน ต้องการคงสภาพให้ทุกคนมีโอกาสใช้ และไม่ ต้องการให้นาผลงานไปใช้หารายได้ ให้เผยแพร่ ดัดแปลง โดยต้องระบุ ที่มาแต่ ห้ามใช้เพื่อการค้า 
• ทรัพยากรที่พร้อมเผยแพร่ อนุญาตให้ดัดแปลงได้ โดยต้องการคงสัญญาอนุญาตเดิม แต่ไม่ อนุญาตให้นาไปใช้เพื่อหารายได้ ให้เผยแพร่ ดัดแปลง โดยต้องระบุ ที่มาแต่ห้ามใช้เพื่อการค้าและต้อง เผยแพร่งานดัดแปลงโดยใช้สัญญา อนุญาตชนิดเดียวกัน 
• ทรัพยากรที่พร้อมเผยแพร่ แต่ไม่อนุญาตให้ดัดแปลง (อันเนื่องจากอาจจะส่งผลต่อการสื่อ ความหมาย การตีความเอกสารต้นฉบับ) รวมทั้งห้ามนาไปใช้เพื่อหารายได้ ให้เผยแพร่ โดยต้องระบุที่มาแต่ ห้ามดัดแปลงและห้ามใช้เพื่อการค้า
แนวปฏิบัติในการจัดการทรัพยากรการศึกษาแบบเปิด (ฉบับผู้สร้างสรรค์) 10 
ขั้นกระบวนการทางดิจิทัล 
ทรัพยากรบางอย่าง อาจจะต้องผ่านกระบวนการทางดิจิทัลก่อนเผยแพร่ ในขณะที่บางอย่างก็เผยแพร่ ในรูปแบบเอกสารสิ่งพิมพ์ได้ทันที ขึ้นอยู่กับความต้องการของหน่วยงานเจ้าของผลงาน และหรือการส่งมอบต่อ ผู้ใช้งาน กรณีที่ทรัพยากรดังกล่าวเผยแพร่ในรูปแบบดิจิทัล สามารถนาทรัพยากรไปเผยแพร่ผ่านเครือข่าย อินเทอร์เน็ตผ่านช่องทางที่เหมาะสม เช่น เว็บไซต์หน่วยงาน หรือ Social Media/Social Networking ได้ 
ขั้นตอนสาคัญที่ควรดาเนินการถัดไป คือ การลงทะเบียนทรัพยากรผ่านเว็บไซต์ http://creativecommons.org เพื่อให้ระบบส่งต่อข้อมูลที่ลงทะเบียนไปยังเครื่องมือออนไลน์ที่ทาหน้าที่ บริการสืบค้น เช่น Google อันจะช่วยให้ผู้ใช้งานทั่วไป สามารถสืบค้นและพบทรัพยากรที่เผยแพร่ 
การลงทะเบียนทาได้โดยเข้าไปที่เว็บไซต์ http://creativecommons.org แล้วคลิกปุ่ม Choose License 
เลือกลักษณะการเผยแพร่จากกล่อง License Features 
 Allow adaptations of your work to be shared? : อนุญาตให้ปรับแก้ไขผลงานได้หรือไม่ และหากอนุญาตจะให้คงสัญญาอนุญาตเดิมหรือไม่ 
 Allow commercial uses of your work? : อนุญาตให้นาผลงานไปหารายได้หรือไม่
แนวปฏิบัติในการจัดการทรัพยากรการศึกษาแบบเปิด (ฉบับผู้สร้างสรรค์) 11 
ทั้งนี้ระบบจะแสดงสัญลักษณ์ตามเงื่อนไขที่เลือก เช่น การเลือกสัญญาอนุญาตที่ต้องอ้างอิงที่มาของ ผลงาน ห้ามนาไปหารายได้ และห้ามดัดแปลงแก้ไขผลงาน 
กรณีที่เป็นทรัพยากรในรูปแบบเอกสารสิ่งพิมพ์ตัวเล่ม สามารถนาภาพสัญลักษณ์ไปวางในหน้า เอกสารก่อนสั่งพิมพ์ แต่กรณีที่ทรัพยากรดังกล่าวอยู่ในรูปแบบเอกสารดิจิทัล และเผยแพร่ผ่านเครือข่าย อินเทอร์เน็ต ควรดาเนินการขั้นตอนลงรายละเอียดเกี่ยวกับทรัพยากร จากรายการ Help others attribute you! ด้วย โดยมีรายการที่ควรระบุ ดังนี้ 
 Title of work ชื่อผลงาน เช่น ภาพถ่ายดอกดาวเรือง, ภาพวาดดอกหน้าวัว, ภาพ สแกนกลอนวันเด็ก เป็นต้น 
 Attribute work to name ระบุชื่อผู้สร้างสรรค์ หรือระบุชื่อหน่วยงานของผู้สร้างสรรค์ 
 Attribute work to URL ระบุ URL ของผลงานที่เผยแพร่ผ่านเว็บ 
 Source work URL ระบุ URL ของหน่วยงานหลักที่สร้างสรรค์ผลงาน 
ระบบจะสร้างชุดคาสั่ง HTML สาหรับผลงานและสัญญาอนุญาตนี้ เพื่อให้ผู้สร้างสรรค์นาไปวางใน เอกสารเว็บที่เผยแพร่ทรัพยากรดังกล่าว ดังตัวอย่างการเผยแพร่ภาพถ่ายดิจิทัลผ่าน Facebook พร้อมระบุ สัญญาอนุญาตครีเอทิฟคอมมอนส์
แนวปฏิบัติในการจัดการทรัพยากรการศึกษาแบบเปิด (ฉบับผู้สร้างสรรค์) 12 
การดาเนินการข้างต้นเป็นเพียงแนวปฏิบัติพื้นฐาน ทั้งนี้ยังมีรายละเอียดที่ต้องพูดคุย และลงมือปฏิบัติ ด้านเทคนิคที่แตกต่างกันไปได้ เช่น กระบวนการฝังรายละเอียดของสัญญาอนุญาตแบบ Machine Readable ไปกับแฟ้มเอกสารดิจิทัล 
 การประยุกต์ใช้งานสัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์กับเอกสาร PDF http://www.thailibrary.in.th/2013/09/06/cc-pdf-xmp/ 
 การประยุกต์ใช้งานสัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์กับภาพถ่ายดิจิทัล http://www.thailibrary.in.th/2013/09/05/creative-commons-using-xmp/ 
 สนุกกับ Photo Metadata : EXIF, IPTC ด้วย XnView และ Flickr http://www.thailibrary.in.th/2011/04/27/metadata-xnview-flickr/ 
อย่างไรก็ดี เนื้อหาส่วนนี้คงเป็นพื้นฐานสาหรับผู้สนใจและหน่วยงานที่ต้องการเผยแพร่ผลงานที่ ตนเองสร้างสรรค์เพื่อพัฒนาสังคมการเรียนรู้แบบแบ่งปัน และทรัพยากรการศึกษาแบบเปิดทั้งหมดคงจะเป็น “สื่อต้นทาง” ของบทเรียน หลักสูตรแบบเปิดต่อไป ไม่ว่าจะเป็น Open Courseware หรือ MOOCs – Massive Open Online Courses

More Related Content

What's hot

โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Kawinna2538
 
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็คตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็คtumetr1
 
New Technology for Information Services
New Technology for Information ServicesNew Technology for Information Services
New Technology for Information ServicesBoonlert Aroonpiboon
 
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้นอินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้นChantana Papattha
 
Hw2 53171615,53171617,53171640,53171705,53171718,53171731,53171750 เทคโนโลยีโ...
Hw2 53171615,53171617,53171640,53171705,53171718,53171731,53171750 เทคโนโลยีโ...Hw2 53171615,53171617,53171640,53171705,53171718,53171731,53171750 เทคโนโลยีโ...
Hw2 53171615,53171617,53171640,53171705,53171718,53171731,53171750 เทคโนโลยีโ...Nuttapong Yongja
 
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learning
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learningตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learning
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learningrubtumproject.com
 
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้TDew Ko
 
การติดต่อสื่อสาร
การติดต่อสื่อสารการติดต่อสื่อสาร
การติดต่อสื่อสารJha Jah
 
Benefits of the internet education
Benefits of the internet educationBenefits of the internet education
Benefits of the internet educationcodexstudio
 
เทคนิคการสอนยุค It
เทคนิคการสอนยุค Itเทคนิคการสอนยุค It
เทคนิคการสอนยุค ItPrachyanun Nilsook
 
การเรียนการสอนด้วย Tablet
การเรียนการสอนด้วย Tabletการเรียนการสอนด้วย Tablet
การเรียนการสอนด้วย TabletPrachyanun Nilsook
 
นำเสนอ Aec
นำเสนอ Aecนำเสนอ Aec
นำเสนอ Aeccomputerta
 
การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เพื่อให้บริ...
การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์   เพื่อให้บริ...การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์   เพื่อให้บริ...
การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เพื่อให้บริ...Srion Janeprapapong
 
How to Libraries promote ICT Literacy to peoples in nation
How to Libraries promote ICT Literacy to peoples in nationHow to Libraries promote ICT Literacy to peoples in nation
How to Libraries promote ICT Literacy to peoples in nationMaykin Likitboonyalit
 

What's hot (20)

โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็คตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
 
New Technology for Information Services
New Technology for Information ServicesNew Technology for Information Services
New Technology for Information Services
 
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้นอินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
 
Hw2 53171615,53171617,53171640,53171705,53171718,53171731,53171750 เทคโนโลยีโ...
Hw2 53171615,53171617,53171640,53171705,53171718,53171731,53171750 เทคโนโลยีโ...Hw2 53171615,53171617,53171640,53171705,53171718,53171731,53171750 เทคโนโลยีโ...
Hw2 53171615,53171617,53171640,53171705,53171718,53171731,53171750 เทคโนโลยีโ...
 
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learning
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learningตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learning
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learning
 
แผนแม่บท Ict ศธ
แผนแม่บท Ict ศธแผนแม่บท Ict ศธ
แผนแม่บท Ict ศธ
 
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
 
การติดต่อสื่อสาร
การติดต่อสื่อสารการติดต่อสื่อสาร
การติดต่อสื่อสาร
 
20190220 open-library
20190220 open-library20190220 open-library
20190220 open-library
 
Museum digital-code
Museum digital-codeMuseum digital-code
Museum digital-code
 
Data Seal ... Comment in Thailand
Data Seal ... Comment in ThailandData Seal ... Comment in Thailand
Data Seal ... Comment in Thailand
 
Benefits of the internet education
Benefits of the internet educationBenefits of the internet education
Benefits of the internet education
 
เทคนิคการสอนยุค It
เทคนิคการสอนยุค Itเทคนิคการสอนยุค It
เทคนิคการสอนยุค It
 
การเรียนการสอนด้วย Tablet
การเรียนการสอนด้วย Tabletการเรียนการสอนด้วย Tablet
การเรียนการสอนด้วย Tablet
 
Tablet1
Tablet1Tablet1
Tablet1
 
หลากหลายวิธีการใช้ Ict เพื่อการเรียนการสอน
หลากหลายวิธีการใช้ Ict เพื่อการเรียนการสอนหลากหลายวิธีการใช้ Ict เพื่อการเรียนการสอน
หลากหลายวิธีการใช้ Ict เพื่อการเรียนการสอน
 
นำเสนอ Aec
นำเสนอ Aecนำเสนอ Aec
นำเสนอ Aec
 
การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เพื่อให้บริ...
การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์   เพื่อให้บริ...การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์   เพื่อให้บริ...
การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เพื่อให้บริ...
 
How to Libraries promote ICT Literacy to peoples in nation
How to Libraries promote ICT Literacy to peoples in nationHow to Libraries promote ICT Literacy to peoples in nation
How to Libraries promote ICT Literacy to peoples in nation
 

Viewers also liked

การสอนแบบเปิด1
การสอนแบบเปิด1การสอนแบบเปิด1
การสอนแบบเปิด1Apinun Nadee
 
สิ่งแวดล้อมการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีอุบัติใหม่เป็นฐาน
สิ่งแวดล้อมการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีอุบัติใหม่เป็นฐานสิ่งแวดล้อมการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีอุบัติใหม่เป็นฐาน
สิ่งแวดล้อมการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีอุบัติใหม่เป็นฐานนะนาท นะคะ
 
Worksheet 3 addition & subtraction
Worksheet 3 addition & subtractionWorksheet 3 addition & subtraction
Worksheet 3 addition & subtractionkrunamthip
 
Hype Cycle for Emerging Technologies : Gartner
Hype Cycle for Emerging Technologies : GartnerHype Cycle for Emerging Technologies : Gartner
Hype Cycle for Emerging Technologies : GartnerBoonlert Aroonpiboon
 
20141015 mail-merge-libreoffice
20141015 mail-merge-libreoffice20141015 mail-merge-libreoffice
20141015 mail-merge-libreofficeInvest Ment
 
Metadata for Visual Resources
Metadata for Visual ResourcesMetadata for Visual Resources
Metadata for Visual ResourcesJenn Riley
 
Library Web Design for Digital Era
Library Web Design for Digital EraLibrary Web Design for Digital Era
Library Web Design for Digital EraBoonlert Aroonpiboon
 
(Draft) The Third Thailand Information and Communication Technology Master Pl...
(Draft) The Third Thailand Information and Communication Technology Master Pl...(Draft) The Third Thailand Information and Communication Technology Master Pl...
(Draft) The Third Thailand Information and Communication Technology Master Pl...Boonlert Aroonpiboon
 

Viewers also liked (20)

การสอนแบบเปิด1
การสอนแบบเปิด1การสอนแบบเปิด1
การสอนแบบเปิด1
 
สิ่งแวดล้อมการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีอุบัติใหม่เป็นฐาน
สิ่งแวดล้อมการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีอุบัติใหม่เป็นฐานสิ่งแวดล้อมการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีอุบัติใหม่เป็นฐาน
สิ่งแวดล้อมการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีอุบัติใหม่เป็นฐาน
 
Smart ICT Usage
Smart ICT UsageSmart ICT Usage
Smart ICT Usage
 
Worksheet 3 addition & subtraction
Worksheet 3 addition & subtractionWorksheet 3 addition & subtraction
Worksheet 3 addition & subtraction
 
Hype Cycle for Emerging Technologies : Gartner
Hype Cycle for Emerging Technologies : GartnerHype Cycle for Emerging Technologies : Gartner
Hype Cycle for Emerging Technologies : Gartner
 
Open Data handbook thai
Open Data handbook thaiOpen Data handbook thai
Open Data handbook thai
 
ICT Usage Survey, Thailand 2557
ICT Usage Survey, Thailand 2557ICT Usage Survey, Thailand 2557
ICT Usage Survey, Thailand 2557
 
20141015 mail-merge-libreoffice
20141015 mail-merge-libreoffice20141015 mail-merge-libreoffice
20141015 mail-merge-libreoffice
 
NRC strategy plan 2555-2559
NRC strategy plan 2555-2559NRC strategy plan 2555-2559
NRC strategy plan 2555-2559
 
ICT MOE Master Plan 2554 – 2556
ICT MOE Master Plan 2554 – 2556ICT MOE Master Plan 2554 – 2556
ICT MOE Master Plan 2554 – 2556
 
Metadata for Visual Resources
Metadata for Visual ResourcesMetadata for Visual Resources
Metadata for Visual Resources
 
ICT MOE Master Plan 2557 - 2559
ICT MOE Master Plan 2557 - 2559ICT MOE Master Plan 2557 - 2559
ICT MOE Master Plan 2557 - 2559
 
Copyright in Education
Copyright in EducationCopyright in Education
Copyright in Education
 
Copyright Act Law : 2558 # 2
Copyright Act Law : 2558 # 2Copyright Act Law : 2558 # 2
Copyright Act Law : 2558 # 2
 
Joomla3 : XAMPP Portable
Joomla3 : XAMPP PortableJoomla3 : XAMPP Portable
Joomla3 : XAMPP Portable
 
Library Web Design for Digital Era
Library Web Design for Digital EraLibrary Web Design for Digital Era
Library Web Design for Digital Era
 
NSTDA KM
NSTDA KMNSTDA KM
NSTDA KM
 
Saravit eMagazine 13/2557
Saravit eMagazine 13/2557Saravit eMagazine 13/2557
Saravit eMagazine 13/2557
 
(Draft) The Third Thailand Information and Communication Technology Master Pl...
(Draft) The Third Thailand Information and Communication Technology Master Pl...(Draft) The Third Thailand Information and Communication Technology Master Pl...
(Draft) The Third Thailand Information and Communication Technology Master Pl...
 
Word to Image, How to
Word to Image, How toWord to Image, How to
Word to Image, How to
 

Similar to Open Educational Resources for Author

NSTDA Newsletter ปีที่ 2 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2559 (ฉบับที่ 21)
NSTDA Newsletter ปีที่ 2 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2559 (ฉบับที่ 21)NSTDA Newsletter ปีที่ 2 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2559 (ฉบับที่ 21)
NSTDA Newsletter ปีที่ 2 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2559 (ฉบับที่ 21)National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ (งานคู่)
โครงงานคอมพิวเตอร์ (งานคู่)โครงงานคอมพิวเตอร์ (งานคู่)
โครงงานคอมพิวเตอร์ (งานคู่)Nothern Eez
 
11 chapter31-network, web 2.0, and the connected learner
11 chapter31-network, web 2.0, and the connected learner11 chapter31-network, web 2.0, and the connected learner
11 chapter31-network, web 2.0, and the connected learnerKruBeeKa
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1commyzaza
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1commyzaza
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1commyzaza
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1commyzaza
 
ใบงานที่4
ใบงานที่4ใบงานที่4
ใบงานที่4juice1414
 
ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2melody_fai
 
ใบงานท 5
ใบงานท  5ใบงานท  5
ใบงานท 5ployprapim
 
06550131 ฐานิช สุวรรณบุตร
06550131 ฐานิช สุวรรณบุตร06550131 ฐานิช สุวรรณบุตร
06550131 ฐานิช สุวรรณบุตรThanich Suwannabutr
 
กิจกรรมที่2 3-4 หลักทรัพย์
กิจกรรมที่2 3-4 หลักทรัพย์กิจกรรมที่2 3-4 หลักทรัพย์
กิจกรรมที่2 3-4 หลักทรัพย์kanyaluk dornsanoi
 

Similar to Open Educational Resources for Author (20)

บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 2 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2559 (ฉบับที่ 21)
NSTDA Newsletter ปีที่ 2 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2559 (ฉบับที่ 21)NSTDA Newsletter ปีที่ 2 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2559 (ฉบับที่ 21)
NSTDA Newsletter ปีที่ 2 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2559 (ฉบับที่ 21)
 
201704 open ended-research
201704 open ended-research201704 open ended-research
201704 open ended-research
 
201704 open ended-research (pdf)
201704 open ended-research (pdf)201704 open ended-research (pdf)
201704 open ended-research (pdf)
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ (งานคู่)
โครงงานคอมพิวเตอร์ (งานคู่)โครงงานคอมพิวเตอร์ (งานคู่)
โครงงานคอมพิวเตอร์ (งานคู่)
 
11 chapter31-network, web 2.0, and the connected learner
11 chapter31-network, web 2.0, and the connected learner11 chapter31-network, web 2.0, and the connected learner
11 chapter31-network, web 2.0, and the connected learner
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
Thaismedu
ThaismeduThaismedu
Thaismedu
 
ใบงานที่4
ใบงานที่4ใบงานที่4
ใบงานที่4
 
ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2
 
ใบงานท 2
ใบงานท   2ใบงานท   2
ใบงานท 2
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
ใบงานท 5
ใบงานท  5ใบงานท  5
ใบงานท 5
 
06550131 ฐานิช สุวรรณบุตร
06550131 ฐานิช สุวรรณบุตร06550131 ฐานิช สุวรรณบุตร
06550131 ฐานิช สุวรรณบุตร
 
Sociel
SocielSociel
Sociel
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
กิจกรรมที่2 3-4 หลักทรัพย์
กิจกรรมที่2 3-4 หลักทรัพย์กิจกรรมที่2 3-4 หลักทรัพย์
กิจกรรมที่2 3-4 หลักทรัพย์
 

More from Boonlert Aroonpiboon

More from Boonlert Aroonpiboon (20)

Excel quiz
Excel quizExcel quiz
Excel quiz
 
Scival for Research Performance
Scival for Research PerformanceScival for Research Performance
Scival for Research Performance
 
20190726 icde-session-chularat-nstda-4
20190726 icde-session-chularat-nstda-420190726 icde-session-chularat-nstda-4
20190726 icde-session-chularat-nstda-4
 
20190220 digital-archives
20190220 digital-archives20190220 digital-archives
20190220 digital-archives
 
OER KKU Library
OER KKU LibraryOER KKU Library
OER KKU Library
 
OER MOOC - Success Story
OER MOOC - Success StoryOER MOOC - Success Story
OER MOOC - Success Story
 
LAM Code of conduct
LAM Code of conductLAM Code of conduct
LAM Code of conduct
 
RLPD - OER MOOC
RLPD - OER MOOCRLPD - OER MOOC
RLPD - OER MOOC
 
New Technology for Information Services
New Technology for Information ServicesNew Technology for Information Services
New Technology for Information Services
 
digital law for GLAM
digital law for GLAMdigital law for GLAM
digital law for GLAM
 
20180919 digital-collections
20180919 digital-collections20180919 digital-collections
20180919 digital-collections
 
Field-Weighted Citation Impact (FWCI)
Field-Weighted Citation Impact (FWCI)Field-Weighted Citation Impact (FWCI)
Field-Weighted Citation Impact (FWCI)
 
20180828 digital-archives
20180828 digital-archives20180828 digital-archives
20180828 digital-archives
 
Local Wisdom Information : How to
Local Wisdom Information : How toLocal Wisdom Information : How to
Local Wisdom Information : How to
 
201403 etda-library-settup
201403 etda-library-settup201403 etda-library-settup
201403 etda-library-settup
 
201403 etda-library
201403 etda-library201403 etda-library
201403 etda-library
 
Data in Digital Era
Data in Digital EraData in Digital Era
Data in Digital Era
 
20170213 digital-archives
20170213 digital-archives20170213 digital-archives
20170213 digital-archives
 
Digital Economy Plan of Thailand : Slide
Digital Economy Plan of Thailand : SlideDigital Economy Plan of Thailand : Slide
Digital Economy Plan of Thailand : Slide
 
Digital Economy Plan of Thailand
Digital Economy Plan of ThailandDigital Economy Plan of Thailand
Digital Economy Plan of Thailand
 

Open Educational Resources for Author

  • 1. แนวปฏิบัติในการจัดการทรัพยากรการศึกษาแบบเปิด (ฉบับผู้สร้างสรรค์) 1 แนวปฏิบัติในการจัดการทรัพยากรการศึกษาแบบเปิด (ฉบับผู้สร้างสรรค์) โครงการระบบสื่อสาระออนไลน์เพื่อการเรียนรู้ทางไกลเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในวโรกาส ฉลองพระชนมายุ 5 รอบ 2 เมษายน 2558 เอกสารนี้เป็นเอกสารที่จัดทาขึ้นเพื่อมอบให้กับหน่วยงาน ที่เข้าร่วมโครงการระบบสื่อสาระออนไลน์ เพื่อการเรียนรู้ทางไกลฯ เพื่อนาไปบริหารจัดการและรู้วิธีกาหนดเงื่อนไขในการใช้งานทรัพยากรการศึกษา แบบเปิด อันจะเป็นองค์ประกอบสาคัญของ “การก้าวสู่สังคมการเรียนรู้แบบแบ่งปัน” เนื่องจากการเรียนรู้ ที่มีคุณค่า ก็คือ การเรียนรู้แบบร่วมมือ การแบ่งปันความรู้ ไม่ยึดถือในความเป็นเจ้าของมากเกินไป จนไป ขัดโอกาสการเข้าถึงโอกาสการเรียนรู้ของผู้อื่น แนวคิดการสร้างช่องทางการเรียนรู้ที่เข้าถึงได้อิสระเสรี จึงเป็นแนวคิดของการส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต (Lifelong Learning) โดยมีหัวใจสาคัญอยู่ที่การแบ่งปัน แหล่งทรัพยากรด้านการศึกษาที่มีคุณภาพสู่สังคมโลกเพื่อนาไปใช้ประโยชน์ทางด้านการศึกษาได้อย่างเสรี ผู้เขียน : นายบุญเลิศ อรุณพิบูลย์ รองผู้อานวยการฝ่ายบริการความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ เวอร์ชั่น : 1 / 10 พฤศจิกายน 2557
  • 2. แนวปฏิบัติในการจัดการทรัพยากรการศึกษาแบบเปิด (ฉบับผู้สร้างสรรค์) 2 แนวปฏิบัติในการจัดการทรัพยากรการศึกษาแบบเปิด (ฉบับผู้สร้างสรรค์) สัญญาอนุญาตแบบเปิด สัญลักษณ์นี้ แสดงว่า “การใช้งานต้องได้รับอนุญาตจากผู้สร้างสรรค์ เป็นลายลักษณ์อักษร” สัญลักษณ์นี้ แสดงว่า “ผู้สร้างสรรค์ยินยอมให้ใช้ผลงานของตนเองได้ โดยไม่ต้องขออนุญาต โดยอยู่ภายใต้เงื่อนไขที่ผู้สร้างสรรค์กาหนด” สมใจ: อาจารย์ค่ะ วันนี้หนูลองเข้าไปเว็บไซต์ของ สสส. แล้วพบข้อความ (cc) ด้านล่างของเว็บ น่าสนใจมากค่ะ แต่ไม่ทราบว่าคืออะไร อาจารย์ ก.: อ้อข้อความ “ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาต แบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย” ... ข้อความนี้เรียกว่า “สัญญา อนุญาตครีเอทิฟคอมมอนส์” แสดงว่า สสส. ประกาศให้ทุกคน ทราบว่า “เนื้อหาและสื่อในเว็บไซต์นี้ อนุญาตให้ใช้งานได้ครับ โดย ต้องอ้างอิงที่มา และห้ามนาผลงานดังกล่าวไปขาย” สมใจ: โอ้ มีแบบนี้ด้วยหรือนี่ เคยเห็นแต่คาว่า “สงวนลิขสิทธิ์” อาจารย์ ก: ใช่แล้วล่ะ ปัจจุบันมีการกาหนดสัญญาอนุญาตให้ผู้ใช้งานทราบว่า ผลงานต่างๆ อนุญาตให้ใช้งานได้ระดับใด มากกว่าเดิมนะ
  • 3. แนวปฏิบัติในการจัดการทรัพยากรการศึกษาแบบเปิด (ฉบับผู้สร้างสรรค์) 3 เว็บไซต์ของสานักงานกองทุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) เป็นกรณีตัวอย่างที่น่าสนใจ โดยจะพบว่า สสส. ได้เลือกใช้สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์ในการบริการข้อมูลของ สสส. ซึ่งแสดงว่า สสส. อนุญาตให้ทุกคนสามารถใช้ข้อมูล เนื้อหา และสื่อที่เผยแพร่ผ่านเว็บไซต์ของ สสส. ได้โดยไม่ต้องขออนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจาก สสส. เพียงแต่ขอให้อ้างอิงที่มาของผลงาน ผลงานใหม่ที่ได้ ห้ามนาไปหารายได้ และต้องใช้สัญญาอนุญาตครีเอทิฟคอมมอนส์เช่นเดียวกันในการเผยแพร่ นอกจากเว็บไซต์ของ สสส. ยังมีอีกหลายหน่วยงานในประเทศไทย ที่เริ่มเผยแพร่ผลงานของตนเอง ด้วยสัญญาอนุญาตครีเอทิฟคอมมอนส์ เช่น เอกสารสิ่งพิมพ์และเว็บไซต์ที่ดาเนินการโดยฝ่ายบริการความรู้ทาง วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (STKS) ห้องสมุดกลาง ของ สวทช.
  • 4. แนวปฏิบัติในการจัดการทรัพยากรการศึกษาแบบเปิด (ฉบับผู้สร้างสรรค์) 4 นอกจากสัญญาอนุญาตครีเอทิฟคอมมอนส์ ยังมีสัญญาอนุญาตสมบัติสาธารณะ (Public Domain License) ดังเช่น เว็บไซต์บริการ Clipart สวยงามจานวนมากที่มีคุณภาพสูง พร้อมเครื่องมือปรับแก้ไขได้อิสระ แบบออนไลน์จากเว็บไซต์ http://openclipart.org ทั้งสัญญาอนุญาตครีเอทิฟคอมมอนส์ และสัญญาอนุญาตสมบัติสาธารณะ ต่างก็เป็นสัญญาอนุญาต แบบเปิดที่เป็นองค์ประกอบสาคัญของ “การก้าวสู่สังคมการเรียนรู้แบบแบ่งปัน” เนื่องจากการเรียนรู้ที่มี คุณค่า ก็คือ การเรียนรู้แบบร่วมมือ การแบ่งปันความรู้ ไม่ยึดถือในความเป็นเจ้าของมากเกินจนไปขัดโอกาส การเข้าถึง โอกาสการเรียนรู้ของผู้อื่น แนวคิดการสร้างช่องทางการเรียนรู้ที่เข้าถึงได้อิสระเสรี จึงเป็นแนวคิด ของการส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต (Lifelong Learning) โดยมีหัวใจสาคัญอยู่ที่การแบ่งปันแหล่งทรัพยากร ด้านการศึกษาที่มีคุณภาพสู่สังคมโลกเพื่อนาไปใช้ประโยชน์ทางด้านการศึกษาได้อย่างเสรี ในยุคปัจจุบัน แม้ว่ากระแสทรัพย์สินทางปัญญาจะทวีความรุนแรง แต่ก็ส่งผลให้มีบุคคล หรือ หน่วยงานที่สนใจ “ถ่วงดุล” ประเด็นดังกล่าว โดยการสร้างสรรค์ และเผยแพร่ผลงานที่ตนเองสร้างสรรค์ ภายใต้สัญญาอนุญาตแบบเปิดมากขึ้น ทรัพยากรการศึกษาแบบเปิด สื่อใดๆ ที่ถูกสร้างสรรค์ด้วยสัญญาอนุญาตลักษณะข้างต้น และถูกนามาใช้ในประกอบกิจกรรมการ เรียนการสอน จะเรียกว่า “ทรัพยากรการศึกษาแบบเปิด”1 - OER: Open Educational Resources 1 คำศัพท์ที่ปรำกฏในเอกสำร “ปฏิญญำกรุงปำรีสด้ำนแหล่งทรัพยำกรกำรศึกษำแบบเปิด พ.ศ. ๒๕๕๕ : 2012 PARIS OER DECLARATION” http://www.unesco.org/new/fileadmin/MULTIMEDIA/HQ/CI/WPFD2009/Thai_version_of_the_2012_PARIS_OER_DECLARATION.pdf ถึงเวลาแล้วหรือยังที่ประเทศไทย ควรร่วมกันสร้างสรรค์ เผยแพร่ สื่อในรูปแบบต่างๆ เพื่อสนับสนุนการเรียนการสอนที่ถูกลิขสิทธิ์ “ร่วมสร้างสังคมการเรียนรู้แบบแบ่งปัน เพื่อการพัฒนาต่อยอดที่ยั่งยืน”
  • 5. แนวปฏิบัติในการจัดการทรัพยากรการศึกษาแบบเปิด (ฉบับผู้สร้างสรรค์) 5 ซึ่งก็คือ ทรัพยากรการศึกษาที่ผู้สร้างสรรค์ได้อนุญาตให้ผู้สนใจนาไปใช้งานได้ภายใต้ เงื่อนไขที่กาหนดโดยไม่จาเป็นต้องขออนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษร สามารถเผยแพร่ได้ทั้ง รูปแบบสิ่งพิมพ์ และออนไลน์ บางชิ้นของทรัพยากรยังอนุญาตให้ปรับเปลี่ยนแก้ไขได้ด้วย โดยการอนุญาต ดังกล่าวกระทาภายใต้ “สัญญาอนุญาตแบบเปิด” ซึ่งอาจจะเป็นสัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์ (Creative Commons) หรือสัญญาอนุญาตสมบัติสาธารณะ (Public Domain) รวมทั้ง Open Access ทรัพยากรการศึกษาแบบเปิด ได้รับการนิยามขึ้นในการอภิปรายขององค์การศึกษา วิทยาศาสตร์ และ วัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (UNESCO) ด้านบทเรียนแบบเปิด (Open Courseware) โดยมีความหมาย รวมถึง สื่อการเรียนการสอน สื่อการเรียนรู้ สื่องานวิจัย ในรูปแบบดิจิทัลหรือไม่ก็ตาม ที่อยู่ในสาธารณะสมบัติ (public domain) หรือได้รับการเผยแพร่ด้วยใบอนุญาตแบบเปิดที่อนุญาตให้สามารถเข้าถึง ใช้งาน ดัดแปลง เปลี่ยนแปลง และเผยแพร่โดยปราศจากค่าใช้จ่าย ได้โดยบุคคลใดๆ โดยไม่มีการกาหนดข้อบังคับใดๆ โดยการ อนุญาตแบบเปิดนี้อยู่ภายใต้กรอบของสิทธิในทรัพย์สินทางปัญญาที่ได้กาหนดไว้โดยอนุสัญญาระหว่างประเทศ ที่เกี่ยวข้อง และความเคารพต่อผู้ที่เป็นเจ้าของผลงานนั้นๆ การร่วมกันสร้างสรรค์ เผยแพร่สื่อในรูปแบบต่างๆ เพื่อสนับสนุนการเรียนการสอนที่ถูกลิขสิทธิ์ ไม่ใช่ เรื่องยาก หรือลาบากเลย เพราะจริงๆ แล้วหน่วยงานภาคการศึกษา ภาครัฐต่างก็นาเงินภาษีจากรัฐบาลมาใช้ ในการสร้างสรรค์ผลงานต่างๆ อยู่แล้ว จึงควรที่จะนา “ผลผลิต” จากทุกผลงานที่ใช้เงินภาษีมาตั้งต้นเผยแพร่ ด้วยสัญญาอนุญาตแบบเปิดด้วย ทั้งนี้ทรัพยากรการศึกษาแบบเปิด สามารถจาแนกได้ ดังนี้ 1. หลักสูตรและเนื้อหาแบบเปิด (open courseware and content) หลักสูตรการศึกษาฟรี ( free educational courses ) Open textbooks เช่น โครงการ Open Source Textbooks Project ของมหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย 2. ซอฟต์แวร์ในกลุ่มเปิด (open software tools) โดยเฉพาะซอฟต์แวร์เพื่อการเรียนรู้ 3. วัสดุเปิด (open material) ที่ออกแบบมาเพื่อใช้ในการสร้างหลักสูตรการเรียนการสอนทั้ง รูปแบบปกติ และรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ 4. คลังของวัสดุการเรียน (Repositories of Learning Object) สาหรับเก็บรวบรวมวัสดุการเรียน เพื่ออานวยความสะดวกในการสืบค้น และเข้าถึงใช้งาน สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์ ทรัพยากรการศึกษาแบบเปิดเป็นแนวคิดที่ก้าวไปสู่การเข้าถึงและใช้ทรัพยากรการศึกษาได้อย่างเสรี อันครอบคลุมการให้ผู้ใช้สามารถสาเนา (copy) กระจาย (distribute) ปรับปรุง (improve) และ เปลี่ยนแปลง (change) ได้ โดยเฉพาะการใช้ในการศึกษาค้นคว้าและงานด้านวิชาการ อย่างไรก็ตาม ทรัพยากรการศึกษา แบบเปิดเป็นทรัพย์สินทางปัญญาประเภทหนึ่งที่ได้รับความคุ้มครองตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ เพื่อให้เกิดการ
  • 6. แนวปฏิบัติในการจัดการทรัพยากรการศึกษาแบบเปิด (ฉบับผู้สร้างสรรค์) 6 ใช้แหล่งทรัพยากรการศึกษาแบบเปิดอย่างถูกต้องและเป็นธรรม หลายหน่วยงานพยายามหาแนวทางการ แก้ปัญหานี้ แนวทางหนึ่งที่ได้รับการตอบรับอย่างแพร่หลาย คือการให้งานที่เป็นเนื้อหาการศึกษาได้รับ อนุญาตให้ใช้อย่างเปิดเผย หรือ แนวทางสัญญาอนุญาตแบบเปิด โดยสัญญาอนุญาตเปิดที่ได้รับความนิยมใน ปัจจุบัน คือ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์ (Creative Commons) สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์ (Creative Commons Licence: CC) เป็นสัญญาอนุญาตทาง ลิขสิทธิ์ประเภทหนึ่งพัฒนาโดย Hewlett Foundation study องค์กรไม่แสวงกาไร วัตถุประสงค์ของสัญญานี้ เพื่อให้เจ้าของผลงานอันมีลิขสิทธิ์สามารถแสดงข้อความอันอานวยความสะดวกให้สาธารณชนรู้ถึงสิทธิ์ใน ผลงาน และทราบว่าจะนางานอันมีลิขสิทธ์ของตนไปใช้ได้โดยไม่ต้องขออนุญาตและไม่ถือว่าเป็นการละเมิด ลิขสิทธิ์ โดยผู้ที่นาผลงานไปใช้ต้องปฏิบัติตามเงื่อนไขที่กาหนดไว้ เช่น อ้างอิงแหล่งที่มา ไม่ใช่เพื่อการค้า ไม่ ดัดแปลงต้นฉบับ เป็นต้น รายละเอียดของแต่ละสัญญาอนุญาตนั้น ขึ้นอยู่กับรุ่นของสัญญา และประกอบไป ด้วยตัวเลือกจากเงื่อนไข 4 เงื่อนไข โดยได้มีการจัดทาสัญลักษณ์เงื่อนไขเป็น 4 ประเภท ซึ่งเครือข่ายครีเอทีฟ คอมมอนส์ประเทศไทย (http://cc.in.th) ได้ถอดความและนาสัญลักษณ์ 4 เงื่อนไขนั้นมาอธิบายไว้ดังนี้ แสดงที่มา/อ้างที่มา (Attribution - BY) อนุญาตให้ผู้อื่นทาซ้า แจกจ่าย หรือแสดงและ นาเสนอชิ้นงานดังกล่าว และสร้างงานดัดแปลงจาก ชิ้นงานดังกล่าว ได้เฉพาะกรณีที่ผู้นั้นได้แสดงเครดิต ของผู้เขียนหรือผู้ให้อนุญาตตามที่ระบุไว้ ไม่ใช้เพื่อการค้า (NonCommercial - NC) อนุญาตให้ผู้อื่นทาซ้า แจกจ่าย หรือแสดงและ นาเสนอชิ้นงานดังกล่าว และสร้างงานดัดแปลงจาก ชิ้นงานดังกล่าว ได้เฉพาะกรณีที่ไม่นาไปใช้ในทาง การค้า ไม่ดัดแปลง (No Derivative Works –ND) อนุญาตให้ผู้อื่นทาซ้า แจกจ่าย หรือแสดงและ นาเสนอชิ้นงานดังกล่าวในรูปแบบที่ไม่ถูกดัดแปลง เท่านั้น อนุญาตแบบเดียวกัน (Share Alike - SA) อนุญาตให้ผู้อื่นแจกจ่ายงานดัดแปลง เปลี่ยนรูปหรือ ต่อเติมงานได้เฉพาะกรณีที่ชิ้นงานดัดแปลงนั้น เผยแพร่ด้วยสัญญาอนุญาตที่เหมือนกันทุกประการ กับงานต้นฉบับ
  • 7. แนวปฏิบัติในการจัดการทรัพยากรการศึกษาแบบเปิด (ฉบับผู้สร้างสรรค์) 7 ร่วมกันสร้างสรรค์วัฒนธรรมการแบ่งปัน การร่วมกันสร้างสรรค์ และเผยแพร่สื่อด้วยสัญญาอนุญาตแบบเปิด สามารถทาได้ง่าย โดยเริ่มต้นจาก สัญญาอนุญาตครีเอทิฟคอมมอน์ ดังนี้ ขั้นตอนการจัดเตรียมและคัดเลือกทรัพยากร ขั้นตอนแรกของการเผยแพร่ทรัพยากรการศึกษาแบบเปิด เริ่มจากการจัดเตรียมและคัดเลือก ทรัพยากร โดยเน้นที่ทรัพยากรที่สร้างสรรค์เอง และพร้อมจะเผยแพร่ต่อสาธารณะ เช่น ภาพถ่ายดิจิทัล ที่ หน่วยงานหรือโรงเรียน เริ่มต้นได้ง่ายด้วยการเชิญชวนให้ครู นักเรียน นาภาพถ่าย (ปัจจุบันสะดวกมากเพราะ ใช้กล้องถ่ายภาพจากโทรศัพท์มือถือ) มาคัดเลือกด้วยเกณฑ์ที่กาหนด  ภาพถ่ายเกี่ยวกับดอกไม้ พรรณไม้ สถานที่ท่องเที่ยว ศิลปวัฒธรรม  ไม่ถ่ายบุคคลโดยไม่ได้รับอนุญาต และหรือห้ามถ่ายภาพเด็ก เยาวชน  ไม่ถ่ายผลงานอันเกิดจากการสร้างสรรค์ของผู้อื่น โดยเฉพาะผลงานดังกล่าวเป็นผลงาน เชิงพาณิชย์ เมื่อกาหนดเกณฑ์ดังข้างต้น ก็จัดเตรียมช่องทางจัดเก็บเผยแพร่ผลงาน เช่น การเผยแพร่ผ่าน Facebook หรือ Flickr.com จัดเตรียมและ คัดเลือก •จัดเตรียมทรัพยากรที่ต้องการเผยแพร่ โดยเน้นทรัพยากรที่สร้างสรรค์เอง และพร้อมเผยแพร่ต่อสาธารณะ •คัดเลือกทรัพยากรให้เป็นกลุ่มๆ ตามลักษณะการเผยแพร่ ระบุสัญญา อนุญาต •นาทรัพยากรมาระบุด้วยสัญญาอนุญาต กระบวนการ ทางดิจิทัล •แปลงสภาพทรัพยากรให้อยู่ในฟอร์แมตเอกสารดิจิทัล •ลงทะเบียนทรัพยากรผ่าน creativecommons.org •กากับเมดาทาดาให้เหมาะสมกับทรัพยากร
  • 8. แนวปฏิบัติในการจัดการทรัพยากรการศึกษาแบบเปิด (ฉบับผู้สร้างสรรค์) 8 รูปแสดงตัวอย่างการเผยแพร่ผลงานภาพถ่ายดิจิทัลผ่าน Facebook สาหรับทรัพยากรการศึกษาอื่นๆ ก็ใช้หลักการเดียว ดังนี้ แผ่นงาน กิจกรรม แผนการสอน เกม ในรูปแบบสิ่งพิมพ์ ที่สามารถเผยแพร่ต่อสาธารณะให้คัดเลือก ทั้งชิ้นงาน หนังสือ คู่มือเรียน … พิจารณา “ภาพประกอบ, แผนภาพ, ตาราง” ในหนังสือ หรือประสานกับผู้ จัดพิมพ์/หน่วยงานที่รับออกแบบจัดพิมพ์ตัวเล่ม ขอให้แยก “ภาพประกอบ, แผนภาพ, ตาราง” เป็นแฟ้มภาพ .PNG รายชิ้น บทเรียน eLearning สื่อ CAI สื่อมัลติมีเดียที่มีอยู่เดิม พิจารณาคัดเลือกแล้วดึงเฉพาะส่วนที่ต้องมา แปลงเป็นแฟ้มภาพ .PNG และหรือสื่อ Animation รายชิ้น สื่อนาเสนอ เอกสารงานพิมพ์ ต่างๆ ก็สามารถกาหนดเป็นทรัพยากรการศึกษาแบบเปิดได้ โดยขอให้ ตรวจสอบให้หมั่นใจว่า “องค์ประกอบที่นามาสร้างสรรค์สื่อนาเสนอ เอกสารงานพิมพ์” ดังกล่าวปลอดภัยจาก ประเด็นการละเมิดทรัพย์สินทางปัญญา เช่นเดียวกับสื่ออื่นๆ ดังข้างต้น เกณฑ์คัดเลือกที่สาคัญก็คือ “ปลอดภัยจากประเด็นการละเมิดทรัพย์สินทางปัญญา” สาหรับการว่าจ้างดาเนินการ ควรกาหนดรายละเอียดการส่งมอบผลงานด้วยเกณฑ์ข้างต้น จะช่วยลด ภาระการจัดเตรียมทรัพยากรการศึกษาแบบเปิด เมื่อจัดเตรียมทรัพยากรดังกล่าวแล้ว ก็คัดเลือกทรัพยากรไว้เป็นกลุ่มๆ เช่น  กลุ่มทรัพยากรที่อนุญาตให้ใช้งานได้ห้ามปรับแก้ไข (หากปรับแก้ไขอาจจะมีผลต่อการสื่อ ความหมาย การตีความ)  กลุ่มทรัพยากรที่อนุญาตให้ใช้งานได้ ปรับแก้ไขได้  กลุ่มที่อนุญาตทุกอย่าง แม้จะนาไปหารายได้
  • 9. แนวปฏิบัติในการจัดการทรัพยากรการศึกษาแบบเปิด (ฉบับผู้สร้างสรรค์) 9 ขั้นระบุสัญญาอนุญาต เมื่อคัดเลือกทรัพยากรเป็นกลุ่มๆ แล้วก็สามารถระบุสัญญาอนุญาตครีเอทิฟคอมมอนส์ให้กับ ทรัพยากรได้สะดวกยิ่งขึ้น ดังนี้ • ทรัพยากรที่พร้อมเผยแพร่ อนุญาตให้ดัดแปลงได้ แม้กระทั่งการนาไปใช้เพื่อหารายได้ • ผลงานที่สร้างสรรค์เอง ไม่มีปัญหาลิขสิทธิ์/ทรัพย์สินทางปัญญา • เนื้อหาที่นาเสนอเป็นสาระทั่วไป ไม่มีผลต่อการสื่อความหมาย การตีความ ให้เผยแพร่ ดัดแปลง โดยต้องระบุ ที่มา • ทรัพยากรที่พร้อมเผยแพร่ และอนุญาตดัดแปลงได้ โดยต้องการคงสัญญาอนุญาตเดิม •ผลงานที่สร้างสรรค์เอง ไม่มีปัญหาลิขสิทธิ์/ทรัพย์สินทางปัญญา •เนื้อหาที่นาเสนอเป็นสาระทั่วไป ไม่มีผลต่อการสื่อความหมาย การตีความ • ผลงานสร้างสรรค์ด้วยงบประมาณแผ่นดิน ต้องการคงสภาพให้ทุกคนมีโอกาสใช้ ให้เผยแพร่ ดัดแปลง โดยต้องระบุ ที่มาและต้องเผยแพร่งานดัดแปลง โดยใช้สัญญาอนุญาตเดียวกัน • ทรัพยากรที่พร้อมเผยแพร่ แต่ไม่อนุญาตให้ดัดแปลง • ผลงานที่มีเนื้อหาอาจจะส่งผลต่อการสื่อความหมาย การตีความเอกสารต้นฉบับ ให้เผยแพร่ โดยต้องระบุที่มา แต่ ห้ามดัดแปลง • ทรัพยากรที่พร้อมเผยแพร่ อนุญาตให้ดัดแปลงได้ • ผลงานสร้างสรรค์ด้วยงบประมาณแผ่นดิน ต้องการคงสภาพให้ทุกคนมีโอกาสใช้ และไม่ ต้องการให้นาผลงานไปใช้หารายได้ ให้เผยแพร่ ดัดแปลง โดยต้องระบุ ที่มาแต่ ห้ามใช้เพื่อการค้า • ทรัพยากรที่พร้อมเผยแพร่ อนุญาตให้ดัดแปลงได้ โดยต้องการคงสัญญาอนุญาตเดิม แต่ไม่ อนุญาตให้นาไปใช้เพื่อหารายได้ ให้เผยแพร่ ดัดแปลง โดยต้องระบุ ที่มาแต่ห้ามใช้เพื่อการค้าและต้อง เผยแพร่งานดัดแปลงโดยใช้สัญญา อนุญาตชนิดเดียวกัน • ทรัพยากรที่พร้อมเผยแพร่ แต่ไม่อนุญาตให้ดัดแปลง (อันเนื่องจากอาจจะส่งผลต่อการสื่อ ความหมาย การตีความเอกสารต้นฉบับ) รวมทั้งห้ามนาไปใช้เพื่อหารายได้ ให้เผยแพร่ โดยต้องระบุที่มาแต่ ห้ามดัดแปลงและห้ามใช้เพื่อการค้า
  • 10. แนวปฏิบัติในการจัดการทรัพยากรการศึกษาแบบเปิด (ฉบับผู้สร้างสรรค์) 10 ขั้นกระบวนการทางดิจิทัล ทรัพยากรบางอย่าง อาจจะต้องผ่านกระบวนการทางดิจิทัลก่อนเผยแพร่ ในขณะที่บางอย่างก็เผยแพร่ ในรูปแบบเอกสารสิ่งพิมพ์ได้ทันที ขึ้นอยู่กับความต้องการของหน่วยงานเจ้าของผลงาน และหรือการส่งมอบต่อ ผู้ใช้งาน กรณีที่ทรัพยากรดังกล่าวเผยแพร่ในรูปแบบดิจิทัล สามารถนาทรัพยากรไปเผยแพร่ผ่านเครือข่าย อินเทอร์เน็ตผ่านช่องทางที่เหมาะสม เช่น เว็บไซต์หน่วยงาน หรือ Social Media/Social Networking ได้ ขั้นตอนสาคัญที่ควรดาเนินการถัดไป คือ การลงทะเบียนทรัพยากรผ่านเว็บไซต์ http://creativecommons.org เพื่อให้ระบบส่งต่อข้อมูลที่ลงทะเบียนไปยังเครื่องมือออนไลน์ที่ทาหน้าที่ บริการสืบค้น เช่น Google อันจะช่วยให้ผู้ใช้งานทั่วไป สามารถสืบค้นและพบทรัพยากรที่เผยแพร่ การลงทะเบียนทาได้โดยเข้าไปที่เว็บไซต์ http://creativecommons.org แล้วคลิกปุ่ม Choose License เลือกลักษณะการเผยแพร่จากกล่อง License Features  Allow adaptations of your work to be shared? : อนุญาตให้ปรับแก้ไขผลงานได้หรือไม่ และหากอนุญาตจะให้คงสัญญาอนุญาตเดิมหรือไม่  Allow commercial uses of your work? : อนุญาตให้นาผลงานไปหารายได้หรือไม่
  • 11. แนวปฏิบัติในการจัดการทรัพยากรการศึกษาแบบเปิด (ฉบับผู้สร้างสรรค์) 11 ทั้งนี้ระบบจะแสดงสัญลักษณ์ตามเงื่อนไขที่เลือก เช่น การเลือกสัญญาอนุญาตที่ต้องอ้างอิงที่มาของ ผลงาน ห้ามนาไปหารายได้ และห้ามดัดแปลงแก้ไขผลงาน กรณีที่เป็นทรัพยากรในรูปแบบเอกสารสิ่งพิมพ์ตัวเล่ม สามารถนาภาพสัญลักษณ์ไปวางในหน้า เอกสารก่อนสั่งพิมพ์ แต่กรณีที่ทรัพยากรดังกล่าวอยู่ในรูปแบบเอกสารดิจิทัล และเผยแพร่ผ่านเครือข่าย อินเทอร์เน็ต ควรดาเนินการขั้นตอนลงรายละเอียดเกี่ยวกับทรัพยากร จากรายการ Help others attribute you! ด้วย โดยมีรายการที่ควรระบุ ดังนี้  Title of work ชื่อผลงาน เช่น ภาพถ่ายดอกดาวเรือง, ภาพวาดดอกหน้าวัว, ภาพ สแกนกลอนวันเด็ก เป็นต้น  Attribute work to name ระบุชื่อผู้สร้างสรรค์ หรือระบุชื่อหน่วยงานของผู้สร้างสรรค์  Attribute work to URL ระบุ URL ของผลงานที่เผยแพร่ผ่านเว็บ  Source work URL ระบุ URL ของหน่วยงานหลักที่สร้างสรรค์ผลงาน ระบบจะสร้างชุดคาสั่ง HTML สาหรับผลงานและสัญญาอนุญาตนี้ เพื่อให้ผู้สร้างสรรค์นาไปวางใน เอกสารเว็บที่เผยแพร่ทรัพยากรดังกล่าว ดังตัวอย่างการเผยแพร่ภาพถ่ายดิจิทัลผ่าน Facebook พร้อมระบุ สัญญาอนุญาตครีเอทิฟคอมมอนส์
  • 12. แนวปฏิบัติในการจัดการทรัพยากรการศึกษาแบบเปิด (ฉบับผู้สร้างสรรค์) 12 การดาเนินการข้างต้นเป็นเพียงแนวปฏิบัติพื้นฐาน ทั้งนี้ยังมีรายละเอียดที่ต้องพูดคุย และลงมือปฏิบัติ ด้านเทคนิคที่แตกต่างกันไปได้ เช่น กระบวนการฝังรายละเอียดของสัญญาอนุญาตแบบ Machine Readable ไปกับแฟ้มเอกสารดิจิทัล  การประยุกต์ใช้งานสัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์กับเอกสาร PDF http://www.thailibrary.in.th/2013/09/06/cc-pdf-xmp/  การประยุกต์ใช้งานสัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์กับภาพถ่ายดิจิทัล http://www.thailibrary.in.th/2013/09/05/creative-commons-using-xmp/  สนุกกับ Photo Metadata : EXIF, IPTC ด้วย XnView และ Flickr http://www.thailibrary.in.th/2011/04/27/metadata-xnview-flickr/ อย่างไรก็ดี เนื้อหาส่วนนี้คงเป็นพื้นฐานสาหรับผู้สนใจและหน่วยงานที่ต้องการเผยแพร่ผลงานที่ ตนเองสร้างสรรค์เพื่อพัฒนาสังคมการเรียนรู้แบบแบ่งปัน และทรัพยากรการศึกษาแบบเปิดทั้งหมดคงจะเป็น “สื่อต้นทาง” ของบทเรียน หลักสูตรแบบเปิดต่อไป ไม่ว่าจะเป็น Open Courseware หรือ MOOCs – Massive Open Online Courses