SlideShare a Scribd company logo
1 of 22
Download to read offline
Design Thinking
&
Transmedia
Storytelling
Toolkits
ทำไมต้อง Design Thinking?
Design Thinking คือ กระบวนการคิด วิเคราะห์และออกแบบ โดยมี Audience เป็นศูนย์กลาง
โดยเป็นการจาลองให้เห็น ว่าจะสามารถที่จะดีไซน์เนื้อหาจานวนมากให้เชื่อมโยงกันเป็นโลกของเนื้อหา
หรือ World Building ได้อย่างไร เมื่อสามารถทาได้จะทาให้สามารถออกแบบสิ่งที่เรียกว่า Audience
Journey ซึ่งเป็นการทาให้ผู้รับสารหนึ่งคน สามารถเดินทางไปรับเนื้อหาในทุก ๆ แพลตฟอร์มได้
ทำไมต้อง Transmedia Storytelling
Transmedia Storytelling คือ กลยุทธ์ในการเล่าเรื่อง เพื่อออกแบบเนื้อหาจานวนมาก
ให้มารวมกัน และนาเสนอออกไปในหลายรูปแบบ หลาก Platform
เป็นการสร้างโลกหนึ่งใบซึ่งเป็นโลกเนื้อหาที่ใหญ่มาก แล้วแตกย่อยเนื้อหาแต่ละส่วน หยิบ
รายละเอียดเรื่องราวของเนื้อหาเหล่านั้น ไม่ว่าจะเป็นตัวละครที่แตกต่างกันทุก ๆ ตัวมาเล่าเป็น
เรื่องราวของแต่ละตัวเอง
การ Design Thinking พบว่าทาให้มีผลต่อการคิดมาก เพราะเมื่อก่อนคิดแบบอยู่ในหัวไม่ได้
เอาออกมาวางข้างนอก จึงทาให้การออกแบบและการคิดไม่ได้หลายกลายเท่าที่ควร การได้
Design Thinking จึงทาให้คิดได้หลากหลายมากขึ้น ทาให้สามารถตัดประเด็นที่ไม่เกี่ยวออกไป
ได้ง่ายขึ้น ทาให้มุ่งตรงประเด็นได้ตรงมากขึ้น ทั้งยังให้ให้การทางาน ทาออกมาได้อย่างเป็นระบบ
ทาให้ได้วางแผนว่าทาไปเพื่อใคร ทาอะไร และทาอย่างไร
Transmedia ทาให้การคิดอย่างเป็นระบบมากขึ้น อย่างแรกคือ storytelling วิธีการเล่า
เรื่อง และก็มาวิเคราะส่วนที่ 2 ก็คือกลุ่มเป้าหมายหรือผู้รับสาร ว่าเป็นคนกลุ่มไหน มี
พฤติกรรมการรับสารแบบไหน พอวิเคราะเสร็จก็มาวิเคราะต่อว่าจะเอาสื่อที่ทาไปให้เขาใน
แพลตฟอร์มหรือช่องทางไหน ทาให้รู้ว่าบางอย่างสามารถเอาหัวข้อแต่ละประเด็นมา
เชื่อมโยงกันได้โดยรับฟังความเห็นจากคนในชุมชนจริง ว่าเขาต้องการอะไร การสื่อสารไม่ใช่
เพียงแค่สร้างการรับรู้ แต่ทาให้เกิดผลเชิงพฤติกรรมที่มีประโยชน์ การผลิตสื่อแบบ
Transmedia เห็นผลของสื่อนาไปสู่การกระทาบางอย่างในชีวิตจริง ทาให้เห็นว่า สื่อที่ผลิต
สามารถทาให้สร้างสรรค์และมีประโยชน์ได้จริง แต่ทาสื่อเพียงรูปแบบเดียวไม่ได้ ต้องคิด
หลากหลายและนามาเชื่อมโยงกันให้ได้
Transmedia
Design Thinking
Narrative Design
Narrative Design คือเทคนิคในการออกแบบเนื้อหา ซึ่งประกอบไปด้วยการ
ออกแบบวิธีการเล่าเรื่อง การกาหนดประเด็นที่หลากหลาย และการหามุมมองการ
เล่าเรื่องในแบบต่างๆ ซึ่งสิ่งสาคัญในการออกแบบเนื้อหาคือ Story หรือเรื่องเล่า
ต้องรู้ว่าจะเล่าเรื่องผ่านรูปแบบไหนและ จะต้องคานึงถึง Engagement &
Experience ของผู้รับสารที่จะมีต่อเรื่องเล่านั้น
การออกแบบเนื้อหา ต้องเกิด
- จานวนเรื่องจานวนมาก ที่แตกประเด็นจากหลายมุมมอง
- แต่ละประเด็นที่แตกออกมาต้องระบุได้ว่าจะทาให้เกิดประสบการณ์ต่อผู้รับ
สารอย่างไร
- เรื่องเล่าเหล่านั้น ต้องการพูดกับพูดรับสารกลุ่มไหน ซึ่งผู้รับสารต้องมีความ
เฉพาะ จะทาให้แตกมุมมองได้หลากหลาย
Audience Experience & Engagement Design
Audience Experience & Engagement เป็นการสร้างรูปแบบการปฏิสัมพันธ์
และการมีส่วนร่วมให้เกิดขึ้น ทั้งระหว่างผู้รับสารกับเนื้อหา ผู้รับสารกับผู้รับสาร
ด้วยกัน ผู้รับสารกับสังคม และผู้รับสารกับประเด็นต่างๆที่สื่อสารออกไป
ประสบการณ์คือ “คิดอะไร” “รู้สึกอะไร” “มีพฤติกรรมอย่างไร”
สร้างการมีส่วนร่วม หรือ ปฏิสัมพันธ์ได้อย่างไร ต้องเลิกคิดว่า ผู้รับสารเราเป็นเพียง
แค่ผู้รับหรือที่เราเรียกว่า Passive Audience ให้คิดว่าเขาสามารถทาอะไรได้หลาย
อย่าง เพราะฉะนั้นเราต้องคิดว่าผู้รับสารของเราเป็นเหมือนผู้เล่น หรือว่า Player ใน
โลกเนื้อหาของเรา การเป็นผู้เล่นคืออะไร หมายถึงว่าเขาสามารถที่จะมีพฤติกรรม
หลาย ๆ อย่างเกิดขึ้นได้ มี Action หลาย ๆ อย่างได้ ตั้งแต่การพูดคุย การ
แลกเปลี่ยน การทากิจกรรม บางอย่างกับเนื้อหา การสร้างเนื้อหาด้วยตัวเอง
&
/
Media & Distribution Design
Media & Distribution เป็นการออกแบบและวางแผนในการใช้สื่อและช่องทางในการ
สื่อสารเนื้อหาหรือเรื่องเล่า โดยมีการใช้เทคโนโลยีและแพลตฟอร์มต่างในการสื่อสาร ทาการ
วางแผนสื่อที่จะใช้ และการเผยแพร่เนื้อหาผ่านช่องทางต่างๆ
ในการเล่าเรื่องเรา สามารถเลือกใช้สื่อมาเล่าเรื่องได้หลากหลายประเภทอะไรที่เป็นตัวกลาง
ในการที่เราสามารถถ่ายทอดเรื่องราวได้ก็นามาใช้เป็นสื่อได้หมด เพราะหัวใจของการเล่า
เรื่องข้ามสื่อ Transmedia Storytellingคือการเลือก ใช้จุดเด่นของแต่ละสื่อสื่อนามาผนวก
กันมาผสมผสานกันแล้วสามารถทาให้เราเล่าเรื่องได้หลากหลาย
คาถามสาคัญ “ใช้สื่อแต่ละสื่อสร้างประสบการณ์การเรียนรู้ ประสบการณ์ในการเข้าใจถึง
เนื้อหา ประสบการณ์ที่จะสร้างปฎิสัมพันธ์ให้กับผู้รับสารของเราได้อย่างไร” และ “สื่อนั้นจะ
ทาให้เขาเดินทางไปยังเนื้อหาต่าง ๆ แล้วเข้าใจเรื่องราวทั้งหมดได้อย่างดีที่สุดอย่างไร”
7 Principle of Transmedia
Checklist for World building
1. Spreadability vs Drillability คือ "กระจายไปในวงกว้าง" ทา content
แล้วต้องทายังไงให้มันกระจายออกไป และ ทาให้อยาก "เจาะให้ลึกลงไป" มีช่องทางให้ค้นต่อ เข้าใจ
มากขึ้น
2. Immersion vs Extractability Immersion หมายถึง การเชื่อม
ประสบการณ์ทาให้คนอ่านสัมผัสเรื่องราว ความรู้สึกเหมือนเป็นคนที่เจอเรื่องนั้นโดยตรง หรือ
รู้สึกร่วม Extractability คือการทาให้คนหยิบเอาสิ่งบางอย่างจากโลกเนื้อหาออกไปสู่ชีวิตจริง
4. Worldbuilding การสร้างโลกของเรื่องราว เนื้อหา ตัวละคน หลายเรื่อง
หลายตัวละคร หลายมุมมองให้โลกทับซ้อนกลายเป็นเรื่องเดียวกัน การสร้างโลกเนื้อหา จะมี
จุดที่เรียกว่า “ประตูเปิดสู่เรื่อง” หรือ ‘entry point’ เข้าสู่เรื่องราวจากมุมมอง ความสนใจที่
แตกต่าง
3. Continuity vs Multiplicity การสร้างเรื่องเล่าต้องมีความหลากหลาย
ให้มุมมองที่แตกต่างหลากมุม แต่ก็ต้องมีความต่อเนื่องที่แต่ละเรื่องเชื่อมโยงกันเพื่อให้รับรู้
ต่อไปได้ไม่รู้จบ สามารถปรับเปลี่ยนได้ตาม ตามบริบทใหม่ที่เปลี่ยนไป
6. Subjectivity มองเรื่องได้จากหลายมุม คือ การสร้างเรื่องราวของตัวละคร
เบื้องหลังของเรื่องราว การมองเรื่องมาจากมุมท่แตกต่าง สร้างแพลตฟอร์มให้ตัวละคน
แสดงออก ให้ความสาคัญกับการนาทุกมิติ
5. Seriality การสร้างเรื่องเล่าที่ไม่รู้จบ สามารถขยายเรื่องราวไปที่หลาย
แพลตฟอร์ม เพื่อ engage คนที่แตกต่าง และทาให้เรื่องดาเนินไปในระยะยาว
7. Performance หรือ FAN CONTENT ทาให้คนมารวมตัว
กันกลายเป็นชุมชนของกลุ่มคนที่สนใจในเรื่องเดียวกัน กลายเป็น “แฟน” และ
ร่วมกันสร้างเนื้อหาต่อยอดโลก
DesignThinking&TransmediaProcess
1Empathize
AudiencePersona
วิเคราะห์ผู้รับสาร
2DefineStory+
Experience+ACTION
เรื่องเล่า-ประสบการณ์-เป้าหมาย
3Ideate
Worldbuilding
เนื้อหา-สื่อสร้างโลกเรื่องเล่า
4Distribution+
AudienceJourney
ต้นแบบเล่าเรื่องข้ามสื่อ
5TestPrototype
TestAudience
ทดสอบ-ประเมินต้นแบบ
เก็บข้อมูล
วิเคราะห์ประเด็นของ
ผู้รับสารสอดคล้องกับ
ประเด็นเรื่องที่จะทา
กาหนดPersona
DefineStoryIdea:
แตกประเด็นเรื่องที่อยากจะเล่า
เล่าแล้วจะเกิดประสบการณ์อะไร
DefineAudience:
จะเล่ากับPersonaกลุ่มไหน
DefineAction&Goal:
เล่าแล้วอยากให้เกิดพฤติกรรม
การลงมือทาอะไรกับเนื้อหา
จากทุกActionกาหนดเป้าหมาย
ใช้7principlesof
Transmedia
วางเนื้อหาและสื่อที่จะใช้
โดยคานึงถึงExperience+
Actionที่จะเกิด
Multiplestories,
Multipleforms,
MultiplesMedia
วางTimeline
ในการนาเสนอเนื้อหา
โยงเส้นกาหนด
AudienceJourney
ผู้รับสารต้องเดินทาง
ระหว่างเนื้อหาและ
ทุกสื่อที่ทา
ทดสอบต้นแบบ
ทดสอบกับผู้รับสาร
ประเมินผล
ปรับเปลี่ยน
Re-process
หดกเ
Empathize
Audience Persona
กระบวนการที่ 1 ขั้นตอน empathize เป็นขั้นตอนในการวิเคราะห์หาข้อมูล
ของผู้รับสารเชิงลึกเพื่อกาหนดเป็นกระบวนการนี้จะเป็นการฝึกให้ผู้รับสาร
เก็บข้อมูลวิเคราะห์ประเด็นของผู้รับสารทั้งเรื่องทางภูมิศาสตร์
ประชากรศาสตร์เรื่องของพื้นที่เรื่องทางจิตวิทยาไลฟ์สไตล์และความต้องการ
รวมถึง Pain Point ของผู้รับสารนอกจากนั้นจะต้องมีการวิเคราะห์ประเด็น
ของผู้รับสารที่สอดคล้องกับเรื่องที่เราต้องการจะสื่อสารแล้วกาหนดออกมา
เป็น Persona หรือตุ๊กตาต้นแบบของผู้รับสารที่แบ่งกลุ่มความแตกต่างใน
รายละเอียดที่ชัดเจนเป็น segmented audience
Define Story +
Experience + Action
กระบวนการที่ 2 คือการดีไซน์ Story - Experience- Action ขั้นตอนนี้คือ
การวิเคราะห์ให้เห็นว่าเรื่องเล่าคืออะไรประสบการณ์จากเรื่องเล่าคืออะไร
และเป้าหมายปลายทางที่เราอยากให้เกิดขึ้นจากการสื่อสารนั้นคืออะไร
 เริ่มต้นจากการให้ทุกคนคิดแตกประเด็นเรื่องที่อยากจะเล่าให้มี
จานวนมากที่สุด มีมุมมองหลากหลายที่สุด เท่าที่จะสามารถทาได้
หลังจากนั้นให้ดูด้วยว่าเรื่องที่แตกออกมาจานวนมากนั้น เมื่อเล่า
แล้วก็เกิดประสบการณ์อะไร คาว่าประสบการณ์หมายถึงเล่าแล้วทา
ให้ผู้รับสาร คิดอะไรรู้สึกอะไรและจะมีพฤติกรรมอย่างไร
 ขั้นตอนที่ 2 ก็คือจะมาจับคู่กับผู้รับสารที่เราได้กาหนด persona ไว้
ว่าเรื่องไหนเหมาะที่จะสื่อสารหรือว่าอยู่ในความสนใจของผู้รับสาร
จะมีกลุ่มผู้รับสารที่หลากหลายเพราะเราต้องการให้คนที่แตกต่างกัน
เข้ามาจากหลายความสนใจ
 ขั้นตอนที่ 3 ของกระบวนการที่สองก็คือการที่ define action และ
Goal ให้ผู้รับสารลงมือทาอะไรต่อเนื้อหา ต่อเรื่องราว ต่อประเด็นที่
เราสื่อสาร นาไปสู่เป้าหมายปลายทางซึ่งสามารถวัดผลในเชิง
พฤติกรรมที่เกิดขึ้นได้
Ideate
Storyworld
กระบวนการที่ 3 คือกระบวนการ Ideate Story World ขั้นตอนนี้เป็น
ขั้นตอนในการใช้ความคิดในการสร้างสรรค์โลกของเนื้อหาโดยเอา
ความคิดเอาความชานาญเอาบริบทของทุกคนในทีมมาจับคู่กับการใช้
หลักการจากข้อเพื่อที่จะนา เอาประเด็นที่คิดไว้มา ทาอะไรดีให้กลายเป็น
เรื่องเล่าบวกกับการคิดสื่อที่และช่องทางที่จะนาเสนอเรื่องราวนั้นโดย
กระบวนการนี้จะผสมผสานเรื่องเล่ากับสื่อที่จะใช้โดยจะต้องมีหัวใจใน
การคิดว่าจะตอบโจทย์หลักของการวิเคราะห์ข้อมูลการทาให้มันลึกทาให้
กระจายทาให้คนเกิดประสบการณ์มีประตูเปิดเข้าสู่ เนื้อหาจัดหลาย
รูปแบบหลายช่องทางจากหลายความสนใจ และเลือกใช้สีที่จะสามารถทา
ให้เกิดประสบการณ์ต่างเป้าหมายได้สิ่งที่ได้ในกระบวนการนี้ก็คือ
Multiple Stories เรื่องราวจานวนมาก Multiple Media/Channels การใช้สื่อ
จานวนมาก แต่สามารถเชื่อมโยงร้อยกันกลับมาสู่แก่นของเนื้อหาที่สาคัญ
Prototype:
Distribution & Audience Journey
กระบวนการที่ 4 คือขั้นของการ Prototype ต้นแบบสื่อ เป็นขั้นตอนการ
ทดลองวางแผนในการนาเสนอเนื้อหาหรือที่เราเรียกว่า Distribution จะมี
Timeline ในการวางแผนอย่างไรจะปล่อยเนื้อหาตามลาดับขั้นตอนอย่างไร
เพื่อให้เกิดผลได้ดีที่สุดที่นาไปสู่ Action และเป้าหมายปลายทาง ใน
ขณะเดียวกันในการวาดวางแผน Timeline นี้ เราจะมีการโยงเส้นที่เรียกว่า
Audience Journey เส้นโยงนี้สาคัญมากเพราะเป็นกระบวนการที่ทาให้ผู้
อบรมนั้นได้ฝึกคิดว่าเมื่อผู้รับสารเข้ามาจากช่องทางสื่อหนึ่งของเราเขาจะ
เกิดพฤติกรรม หรือ ประสบการณ์อะไร ที่จะกระตุ้นให้เขาเดินทางไปยัง
เนื้อหาถัดไป และเนื้อหาถัดไป ไปเรื่อย ๆ จนทาให้เขาสามารถที่จะรับรู้
เนื้อหาเราได้จากทุกรูปแบบและทุกช่องทางมากที่สุด เป็นการทาให้ผู้รับ
สารต่อจิ๊กซอเรื่องราวได้ครบถ้วนและเข้าใจสู่แก่นของเรื่องอย่างแท้จริง
นำเสนอกับ
AUDIENCE
Success Fail
Re-process
จนกว่ำจะใช้ Prototype ได้
Test Audience
นำไปทดลอง
เผยแพร่จริง
กระบวนการ Test User กระบวนการนี้จะทาให้เราเห็นว่าผู้รับสารที่เรา
วางแผนไว้และคิดว่าเขาจะสนใจเนื้อหาและมีพฤติกรรมตอบรับกับเนื้อหา
เรานั้นเขาสนใจจริงไหมมันสามารถทาให้เกิดประสบการณ์ได้จริงหรือ
เปล่า วิธีการ Test User เช่น นาต้นแบบนั้นไปทดลองในการเผยแพร่หรือ
ในการอบรมอาจจะมี user ที่เป็นกลุ่มเป้าหมายกลุ่มผู้รับสารมาเป็นคนนั่ง
ฟังการนาเสนอแล้วก็ประเมินก็ได้
Success ประสบความสาเร็จ คือ User สนใจและยอมซื้อเนื้อหาเราใน
ขณะที่เขาพร้อมที่จะมีประสบการณ์และมีพฤติกรรมร่วมกับเนื้อหาเราได้
fail ไม่ตอบโจทย์ผู้รับสาร ต้องพูดคุยวิเคราะห์ให้ละเอียด แล้ว re-process
กลับไปสู่กระบวนการที่ 1 ใหม่ และมองหาว่าจุดใดที่ทาให้ยังไม่โดนใจ
ผู้รับสารหรือเป้าหมายยังไม่บรรลุในการสื่อสารแล้วก็สามารถพัฒนา
ต้นแบบแล้วเข้าสู่กระบวนการ test ได้อีกครั้งก่อนนาไปใช้จริง
Test Prototype
Test Audience
ควำมคิดเห็น
ของผู้ที่ผ่ำนกำรเข้ำร่วม
กระบวนกำร
Design Thinking &
Transmedia
Storytelling
ทาให้รู้จักการเชื่อมโยง
เรื่องราวเข้าด้วยกัน
ได้เรียนรู้เรื่อง Transmedia
การเข้าร่วมกระบวนการทา
ให้ช่วยจัดระเบียบความคิด
รู้ว่ารูปแบบการเล่าเรื่องมี
หลายรูปแบบ
ได้เรียนรู้สิ่งใหม่ๆ
ได้เห็นถึงการเชื่อมโยงเนื้อหา
เพื่อตอบโจทย์ผู้รับสาร
ได้รู้ว่าสื่อทุกแบบสามารถ
สร้างรายได้ให้กับผู้ผลิตได้
ช่วยทาให้สามารถคิดและ
ออกแบบเนื้อหาได้
หลากหลายขึ้น
ทาให้ได้พัฒนาวิธีการคิด
ได้รู้ว่าการจะทาเรื่องหนึ่ง
เรื่อง จะต้องมี Audience
เป็นหลัก
ได้รับฟังความคิดเห็นและ
แลกเปลี่ยนความเห้นกับคน
อื่น
ได้เห็นตัวอย่างต่างๆ ที่มี
ประโยชน์มาก
ทาให้ได้รับไอเดียใหม่ๆ เพื่อ
การสร้างสื่อที่ปลอดภัยและ
สร้างสรรค์
ภำพบรรยำกำศจำกกิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติกำร
Design Thinking & Transmedia Storytelling
เครื่องมือในกระบวนกำร
Silent Brainstrom: คิดเงียบ ๆ คนเดียว ควรใช้ก่อนการระดมความคิดกลุ่มในทุกๆ ขั้น
ช่วยให้ลดการไม่กล้าพูด การ Dominate กลุ่มจากใครบางคน ได้ความคิดจากทุกคน
Post it process การใช้ post-it ทีละหนึ่งความคิด ต่อหนึ่งแผน ปล่อยความคิดให้ไหล
ออกมา **ไม่มีการตัด post-it ใดทิ้ง เพราะทุกความคิดสาคัญ ให้แต่ละทีมจัดระบบ post-it ได้ด้วย
ตัวเองในการนาเสนอความคิด แต่ละประเด็นและขั้นตอนมีการแยกสี จะชัดเจนขึ้น
Time limit กาหนดเวลาให้ชัดเจน สั้น กระชับในทุกขั้นตอน ไม่ต้องให้เวลานาน เพราะ
การคิดแบบเร็ว กระตุ้นให้คิดได้มากกว่า การให้เวลานานกลุ่มจะคุยเรื่องอื่นและลด
ประสิทธิภาพการคิด แตกกระบวนการค่อย ๆ ทาไปทีละขั้นในเวลาที่สั้น ๆ
Crazy 8 การวาดรูป 8 ช่องปล่อยพลังความคิด เหมือนการทา Storyboard เรื่องเล่าและการใช้
สื่อ เหมาะกับการใช้ทลายกาแพงข้อจากัดเมื่อคิดประเด็นได้น้อยและไม่เป็นเรื่องเล่า พับ
กระดาษ 8 ช่อง วาด 1 ช่อง 1 ความคิด ให้เวลาช่องละ 1 นาที ทาไปจนครบ แล้วเล่าให้เพื่อนฟัง
2 – 3 minute pitching ระหว่างทางมีการให้นาเสนอให้กลุ่มอื่นฟังบ้าง และมีการ
Vote และ Feedback จากคนอื่น ๆ เพื่อเติมเต็มสิ่งที่ขาด มองกลุ่มอื่นเป็น USER ที่ช่วย test
ระหว่างกระบวนการได้
ลากเส้น Audience Journey การลากเส้นการเดินทางของผู้รับสาร ระหว่างแต่ละ
เนื้อหา แต่ละสื่อที่วางไว้ บนเส้น อธิบายได้ด้วยว่า “อะไรจูงใจให้เขาไปต่อยังสื่อนั้น หรือ จะมี
ACTION อะไรเกิดขึ้น” ต้องทดสอบได้ว่า คนจะไปต่อตามเส้นนั้นจริง “เหมือนต่อจิ๊กซอว์สิ่งที่
อยากรู้ เดินทางไปทุกสื่อ ต่อเรื่องไม่รู้จบ”
ผ.ศ.สกุลศรี ศรีสำรคำม
กระบวนการ Design Thinking & Transmedia ควรนาไปใช้เพื่อ
พัฒนากระบวนการคิด สามารถนาไปใช้ในการพัฒนาคนสื่อ
ระดับปัจเจก พัฒนาความร่วมมือประสานงานกันภายในองค์กร
สื่อเพื่อทางานแบบข้ามสื่อได้ รวมถึงปรับกระบวนการในการคิด
ของทีมผลิตสื่อจะทาให้เห็นโอกาสการพัฒนาสื่อ และ รูปแบบใน
การหารายได้ เมื่อผ่านการอบรม สามารถนากระบวนการไป
เลือกใช้แต่ละส่วนในกระบวนการทางานจริงได้ จะทาให้เกิด
ระบบ เห็นกลยุทธ์ในการเชื่อมโยงความร่วมมือระหว่างทีม และ
และโอกาสในการพัฒนาสื่อสร้างสรรค์
โครงการพัฒนานวัตกรรมและองค์ความรู้เพื่อผลิตสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์ (Thai Media Lab)
สนับสนุนโดย กองทุนพัฒนาสื่อปลิดภัยและสร้างสรรค์
2562

More Related Content

What's hot

การเขียนบทสำหรับงานวิดีโอ (Script Writing for Video Production)
การเขียนบทสำหรับงานวิดีโอ (Script Writing for Video Production)การเขียนบทสำหรับงานวิดีโอ (Script Writing for Video Production)
การเขียนบทสำหรับงานวิดีโอ (Script Writing for Video Production)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
สร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinoti
สร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinotiสร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinoti
สร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย VidinotiDr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การผลิตสื่อวีดิทัศน์สำหรับงานมัลติมีเดีย (Multimedia Video Production)
การผลิตสื่อวีดิทัศน์สำหรับงานมัลติมีเดีย (Multimedia Video Production)การผลิตสื่อวีดิทัศน์สำหรับงานมัลติมีเดีย (Multimedia Video Production)
การผลิตสื่อวีดิทัศน์สำหรับงานมัลติมีเดีย (Multimedia Video Production)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
หลักการวิเคราะห์และออกแบบ Infographic อย่างมืออาชีพ
หลักการวิเคราะห์และออกแบบ Infographic อย่างมืออาชีพหลักการวิเคราะห์และออกแบบ Infographic อย่างมืออาชีพ
หลักการวิเคราะห์และออกแบบ Infographic อย่างมืออาชีพlekruthai khantongchai
 
อินโฟกราฟิก (Infographic) คืออะไร
อินโฟกราฟิก (Infographic) คืออะไรอินโฟกราฟิก (Infographic) คืออะไร
อินโฟกราฟิก (Infographic) คืออะไรTewika Chanthong
 
ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล
ระบบสารสนเทศโรงพยาบาลระบบสารสนเทศโรงพยาบาล
ระบบสารสนเทศโรงพยาบาลNawanan Theera-Ampornpunt
 
หลักการจัดองค์ประกอบของงานภาพเคลื่อนไหว (Compositing)
หลักการจัดองค์ประกอบของงานภาพเคลื่อนไหว (Compositing)หลักการจัดองค์ประกอบของงานภาพเคลื่อนไหว (Compositing)
หลักการจัดองค์ประกอบของงานภาพเคลื่อนไหว (Compositing)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
3 การจัดการสาธารณสุขในประเทศไทย
3 การจัดการสาธารณสุขในประเทศไทย3 การจัดการสาธารณสุขในประเทศไทย
3 การจัดการสาธารณสุขในประเทศไทยWatcharin Chongkonsatit
 
ความปลอดภัยการใช้งานดิจิทัลและกฎหมายเบื้องต้น (Digital Safety and Laws)
ความปลอดภัยการใช้งานดิจิทัลและกฎหมายเบื้องต้น (Digital Safety and Laws)ความปลอดภัยการใช้งานดิจิทัลและกฎหมายเบื้องต้น (Digital Safety and Laws)
ความปลอดภัยการใช้งานดิจิทัลและกฎหมายเบื้องต้น (Digital Safety and Laws)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การผลิตสื่อดิจิทัล (DIGITAL MEDIA )
การผลิตสื่อดิจิทัล (DIGITAL MEDIA )การผลิตสื่อดิจิทัล (DIGITAL MEDIA )
การผลิตสื่อดิจิทัล (DIGITAL MEDIA )Ananta Nana
 
ใบความรู้ที่ 1 หลักการสร้างหนังสั้น
ใบความรู้ที่ 1 หลักการสร้างหนังสั้นใบความรู้ที่ 1 หลักการสร้างหนังสั้น
ใบความรู้ที่ 1 หลักการสร้างหนังสั้นchaiwat vichianchai
 
การเขียนบทความวิจัยนวัตกรรมเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา (Research Article Wr...
การเขียนบทความวิจัยนวัตกรรมเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา (Research Article Wr...การเขียนบทความวิจัยนวัตกรรมเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา (Research Article Wr...
การเขียนบทความวิจัยนวัตกรรมเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา (Research Article Wr...Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
สื่อการสอน เรื่อง งานประดิษฐ์
สื่อการสอน เรื่อง งานประดิษฐ์สื่อการสอน เรื่อง งานประดิษฐ์
สื่อการสอน เรื่อง งานประดิษฐ์Beerza Kub
 
Week 3 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
Week 3 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์Week 3 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
Week 3 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
อินโฟกราฟิกในยุคการศึกษา 4.0 (Infographic in Education 4.0)
อินโฟกราฟิกในยุคการศึกษา 4.0 (Infographic in Education 4.0)อินโฟกราฟิกในยุคการศึกษา 4.0 (Infographic in Education 4.0)
อินโฟกราฟิกในยุคการศึกษา 4.0 (Infographic in Education 4.0)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การออกแบบแอพพลิเคชั่นด้วย Adobe XD
การออกแบบแอพพลิเคชั่นด้วย Adobe XDการออกแบบแอพพลิเคชั่นด้วย Adobe XD
การออกแบบแอพพลิเคชั่นด้วย Adobe XDDr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การติดตามและประเมินโครงการส่งเสริมรายได้ระหว่างเรียน
การติดตามและประเมินโครงการส่งเสริมรายได้ระหว่างเรียนการติดตามและประเมินโครงการส่งเสริมรายได้ระหว่างเรียน
การติดตามและประเมินโครงการส่งเสริมรายได้ระหว่างเรียนNattapon
 
การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Motion Graphic)
การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว  (Motion Graphic)การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว  (Motion Graphic)
การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Motion Graphic)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต (Internet Fundamental)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต (Internet Fundamental)ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต (Internet Fundamental)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต (Internet Fundamental)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
Palliative Care คู่มือ การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคอง
Palliative Care คู่มือ การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคอง Palliative Care คู่มือ การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคอง
Palliative Care คู่มือ การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคอง Utai Sukviwatsirikul
 

What's hot (20)

การเขียนบทสำหรับงานวิดีโอ (Script Writing for Video Production)
การเขียนบทสำหรับงานวิดีโอ (Script Writing for Video Production)การเขียนบทสำหรับงานวิดีโอ (Script Writing for Video Production)
การเขียนบทสำหรับงานวิดีโอ (Script Writing for Video Production)
 
สร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinoti
สร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinotiสร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinoti
สร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinoti
 
การผลิตสื่อวีดิทัศน์สำหรับงานมัลติมีเดีย (Multimedia Video Production)
การผลิตสื่อวีดิทัศน์สำหรับงานมัลติมีเดีย (Multimedia Video Production)การผลิตสื่อวีดิทัศน์สำหรับงานมัลติมีเดีย (Multimedia Video Production)
การผลิตสื่อวีดิทัศน์สำหรับงานมัลติมีเดีย (Multimedia Video Production)
 
หลักการวิเคราะห์และออกแบบ Infographic อย่างมืออาชีพ
หลักการวิเคราะห์และออกแบบ Infographic อย่างมืออาชีพหลักการวิเคราะห์และออกแบบ Infographic อย่างมืออาชีพ
หลักการวิเคราะห์และออกแบบ Infographic อย่างมืออาชีพ
 
อินโฟกราฟิก (Infographic) คืออะไร
อินโฟกราฟิก (Infographic) คืออะไรอินโฟกราฟิก (Infographic) คืออะไร
อินโฟกราฟิก (Infographic) คืออะไร
 
ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล
ระบบสารสนเทศโรงพยาบาลระบบสารสนเทศโรงพยาบาล
ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล
 
หลักการจัดองค์ประกอบของงานภาพเคลื่อนไหว (Compositing)
หลักการจัดองค์ประกอบของงานภาพเคลื่อนไหว (Compositing)หลักการจัดองค์ประกอบของงานภาพเคลื่อนไหว (Compositing)
หลักการจัดองค์ประกอบของงานภาพเคลื่อนไหว (Compositing)
 
3 การจัดการสาธารณสุขในประเทศไทย
3 การจัดการสาธารณสุขในประเทศไทย3 การจัดการสาธารณสุขในประเทศไทย
3 การจัดการสาธารณสุขในประเทศไทย
 
ความปลอดภัยการใช้งานดิจิทัลและกฎหมายเบื้องต้น (Digital Safety and Laws)
ความปลอดภัยการใช้งานดิจิทัลและกฎหมายเบื้องต้น (Digital Safety and Laws)ความปลอดภัยการใช้งานดิจิทัลและกฎหมายเบื้องต้น (Digital Safety and Laws)
ความปลอดภัยการใช้งานดิจิทัลและกฎหมายเบื้องต้น (Digital Safety and Laws)
 
การผลิตสื่อดิจิทัล (DIGITAL MEDIA )
การผลิตสื่อดิจิทัล (DIGITAL MEDIA )การผลิตสื่อดิจิทัล (DIGITAL MEDIA )
การผลิตสื่อดิจิทัล (DIGITAL MEDIA )
 
ใบความรู้ที่ 1 หลักการสร้างหนังสั้น
ใบความรู้ที่ 1 หลักการสร้างหนังสั้นใบความรู้ที่ 1 หลักการสร้างหนังสั้น
ใบความรู้ที่ 1 หลักการสร้างหนังสั้น
 
การเขียนบทความวิจัยนวัตกรรมเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา (Research Article Wr...
การเขียนบทความวิจัยนวัตกรรมเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา (Research Article Wr...การเขียนบทความวิจัยนวัตกรรมเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา (Research Article Wr...
การเขียนบทความวิจัยนวัตกรรมเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา (Research Article Wr...
 
สื่อการสอน เรื่อง งานประดิษฐ์
สื่อการสอน เรื่อง งานประดิษฐ์สื่อการสอน เรื่อง งานประดิษฐ์
สื่อการสอน เรื่อง งานประดิษฐ์
 
Week 3 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
Week 3 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์Week 3 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
Week 3 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
 
อินโฟกราฟิกในยุคการศึกษา 4.0 (Infographic in Education 4.0)
อินโฟกราฟิกในยุคการศึกษา 4.0 (Infographic in Education 4.0)อินโฟกราฟิกในยุคการศึกษา 4.0 (Infographic in Education 4.0)
อินโฟกราฟิกในยุคการศึกษา 4.0 (Infographic in Education 4.0)
 
การออกแบบแอพพลิเคชั่นด้วย Adobe XD
การออกแบบแอพพลิเคชั่นด้วย Adobe XDการออกแบบแอพพลิเคชั่นด้วย Adobe XD
การออกแบบแอพพลิเคชั่นด้วย Adobe XD
 
การติดตามและประเมินโครงการส่งเสริมรายได้ระหว่างเรียน
การติดตามและประเมินโครงการส่งเสริมรายได้ระหว่างเรียนการติดตามและประเมินโครงการส่งเสริมรายได้ระหว่างเรียน
การติดตามและประเมินโครงการส่งเสริมรายได้ระหว่างเรียน
 
การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Motion Graphic)
การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว  (Motion Graphic)การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว  (Motion Graphic)
การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Motion Graphic)
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต (Internet Fundamental)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต (Internet Fundamental)ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต (Internet Fundamental)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต (Internet Fundamental)
 
Palliative Care คู่มือ การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคอง
Palliative Care คู่มือ การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคอง Palliative Care คู่มือ การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคอง
Palliative Care คู่มือ การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคอง
 

Similar to คู่มือ Design thinking & transmedia storytelling

Social TV & Transmedia for Documentary
Social TV & Transmedia for DocumentarySocial TV & Transmedia for Documentary
Social TV & Transmedia for DocumentarySakulsri Srisaracam
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำKittitud SaLad
 
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับการท่องเที่ยว โรงแรม และอีเวนต์
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับการท่องเที่ยว โรงแรม และอีเวนต์เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับการท่องเที่ยว โรงแรม และอีเวนต์
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับการท่องเที่ยว โรงแรม และอีเวนต์Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
สุนทรียสนทนา
สุนทรียสนทนาสุนทรียสนทนา
สุนทรียสนทนาEkarach Inthajan
 
การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้
การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้
การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้Otaro
 
Communication innovation swu week#1
Communication innovation swu week#1Communication innovation swu week#1
Communication innovation swu week#1pantapong
 
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)Srion Janeprapapong
 
ใบงานที่ประเด็นโลก 8 ด้าน
ใบงานที่ประเด็นโลก 8 ด้านใบงานที่ประเด็นโลก 8 ด้าน
ใบงานที่ประเด็นโลก 8 ด้านprincess Thirteenpai
 
Communication innovation swu week#5 sec2
Communication innovation swu week#5 sec2Communication innovation swu week#5 sec2
Communication innovation swu week#5 sec2pantapong
 
หนังสือเรื่อง เรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง สถาบันพัฒนาครู
หนังสือเรื่อง เรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง   สถาบันพัฒนาครูหนังสือเรื่อง เรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง   สถาบันพัฒนาครู
หนังสือเรื่อง เรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง สถาบันพัฒนาครูSakaeoPlan
 
เรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง Transformative Learning
เรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง Transformative Learningเรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง Transformative Learning
เรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง Transformative LearningUtai Sukviwatsirikul
 
เรื่อง แหล่งเรียนรู้
เรื่อง แหล่งเรียนรู้ เรื่อง แหล่งเรียนรู้
เรื่อง แหล่งเรียนรู้ ssuser5253fc
 

Similar to คู่มือ Design thinking & transmedia storytelling (20)

Social TV & Transmedia for Documentary
Social TV & Transmedia for DocumentarySocial TV & Transmedia for Documentary
Social TV & Transmedia for Documentary
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ
 
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับการท่องเที่ยว โรงแรม และอีเวนต์
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับการท่องเที่ยว โรงแรม และอีเวนต์เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับการท่องเที่ยว โรงแรม และอีเวนต์
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับการท่องเที่ยว โรงแรม และอีเวนต์
 
Concept VS Theme
Concept VS ThemeConcept VS Theme
Concept VS Theme
 
Social media trends in 2012
Social media trends in 2012Social media trends in 2012
Social media trends in 2012
 
สุนทรียสนทนา
สุนทรียสนทนาสุนทรียสนทนา
สุนทรียสนทนา
 
Communication skill
Communication skillCommunication skill
Communication skill
 
หนังสือเล่มเล็ก
หนังสือเล่มเล็กหนังสือเล่มเล็ก
หนังสือเล่มเล็ก
 
Social media
Social mediaSocial media
Social media
 
การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้
การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้
การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้
 
Communication innovation swu week#1
Communication innovation swu week#1Communication innovation swu week#1
Communication innovation swu week#1
 
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
 
ใบงานที่ประเด็นโลก 8 ด้าน
ใบงานที่ประเด็นโลก 8 ด้านใบงานที่ประเด็นโลก 8 ด้าน
ใบงานที่ประเด็นโลก 8 ด้าน
 
Communication innovation swu week#5 sec2
Communication innovation swu week#5 sec2Communication innovation swu week#5 sec2
Communication innovation swu week#5 sec2
 
หนังสือเรื่อง เรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง สถาบันพัฒนาครู
หนังสือเรื่อง เรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง   สถาบันพัฒนาครูหนังสือเรื่อง เรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง   สถาบันพัฒนาครู
หนังสือเรื่อง เรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง สถาบันพัฒนาครู
 
เรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง Transformative Learning
เรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง Transformative Learningเรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง Transformative Learning
เรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง Transformative Learning
 
2012education
2012education2012education
2012education
 
เรื่อง แหล่งเรียนรู้
เรื่อง แหล่งเรียนรู้ เรื่อง แหล่งเรียนรู้
เรื่อง แหล่งเรียนรู้
 
บทความ
บทความบทความ
บทความ
 
2012education1
2012education12012education1
2012education1
 

More from Sakulsri Srisaracam

การขับเคลื่อนประเด็นทางสังคม Social Movement
การขับเคลื่อนประเด็นทางสังคม Social Movementการขับเคลื่อนประเด็นทางสังคม Social Movement
การขับเคลื่อนประเด็นทางสังคม Social MovementSakulsri Srisaracam
 
ความจริงบันเทิง (Factual Entertainment) รายการโทรทัศน์ทางเลือกใหม่ของประชาชน
ความจริงบันเทิง (Factual Entertainment) รายการโทรทัศน์ทางเลือกใหม่ของประชาชนความจริงบันเทิง (Factual Entertainment) รายการโทรทัศน์ทางเลือกใหม่ของประชาชน
ความจริงบันเทิง (Factual Entertainment) รายการโทรทัศน์ทางเลือกใหม่ของประชาชนSakulsri Srisaracam
 
The role of Social Media and the changing of news reporting process
The role of Social Media and the changing of news reporting processThe role of Social Media and the changing of news reporting process
The role of Social Media and the changing of news reporting processSakulsri Srisaracam
 
Social Media กับการทำข่าวสอบสวน
Social Media กับการทำข่าวสอบสวนSocial Media กับการทำข่าวสอบสวน
Social Media กับการทำข่าวสอบสวนSakulsri Srisaracam
 
การผลิตรายการวิทยุกระจายเสียง
การผลิตรายการวิทยุกระจายเสียงการผลิตรายการวิทยุกระจายเสียง
การผลิตรายการวิทยุกระจายเสียงSakulsri Srisaracam
 

More from Sakulsri Srisaracam (20)

การขับเคลื่อนประเด็นทางสังคม Social Movement
การขับเคลื่อนประเด็นทางสังคม Social Movementการขับเคลื่อนประเด็นทางสังคม Social Movement
การขับเคลื่อนประเด็นทางสังคม Social Movement
 
ความจริงบันเทิง (Factual Entertainment) รายการโทรทัศน์ทางเลือกใหม่ของประชาชน
ความจริงบันเทิง (Factual Entertainment) รายการโทรทัศน์ทางเลือกใหม่ของประชาชนความจริงบันเทิง (Factual Entertainment) รายการโทรทัศน์ทางเลือกใหม่ของประชาชน
ความจริงบันเทิง (Factual Entertainment) รายการโทรทัศน์ทางเลือกใหม่ของประชาชน
 
Online community & journalism
Online community & journalismOnline community & journalism
Online community & journalism
 
The role of Social Media and the changing of news reporting process
The role of Social Media and the changing of news reporting processThe role of Social Media and the changing of news reporting process
The role of Social Media and the changing of news reporting process
 
Reseachconvergence
ReseachconvergenceReseachconvergence
Reseachconvergence
 
Social Media กับการทำข่าวสอบสวน
Social Media กับการทำข่าวสอบสวนSocial Media กับการทำข่าวสอบสวน
Social Media กับการทำข่าวสอบสวน
 
Newsreportprocess
NewsreportprocessNewsreportprocess
Newsreportprocess
 
Social Media & Journalism
Social Media & JournalismSocial Media & Journalism
Social Media & Journalism
 
Digital Media & University
Digital Media & UniversityDigital Media & University
Digital Media & University
 
Irregularverb
IrregularverbIrregularverb
Irregularverb
 
Agreement of verb
Agreement of verbAgreement of verb
Agreement of verb
 
Adjectiveadverb
AdjectiveadverbAdjectiveadverb
Adjectiveadverb
 
Conjunctions
ConjunctionsConjunctions
Conjunctions
 
Conjunctions
ConjunctionsConjunctions
Conjunctions
 
Adjective & Adverb
Adjective & AdverbAdjective & Adverb
Adjective & Adverb
 
News21century
News21century News21century
News21century
 
Radio drama
Radio dramaRadio drama
Radio drama
 
TV Production 2
TV Production 2TV Production 2
TV Production 2
 
TV Production 1
TV Production 1TV Production 1
TV Production 1
 
การผลิตรายการวิทยุกระจายเสียง
การผลิตรายการวิทยุกระจายเสียงการผลิตรายการวิทยุกระจายเสียง
การผลิตรายการวิทยุกระจายเสียง
 

คู่มือ Design thinking & transmedia storytelling

  • 2. ทำไมต้อง Design Thinking? Design Thinking คือ กระบวนการคิด วิเคราะห์และออกแบบ โดยมี Audience เป็นศูนย์กลาง โดยเป็นการจาลองให้เห็น ว่าจะสามารถที่จะดีไซน์เนื้อหาจานวนมากให้เชื่อมโยงกันเป็นโลกของเนื้อหา หรือ World Building ได้อย่างไร เมื่อสามารถทาได้จะทาให้สามารถออกแบบสิ่งที่เรียกว่า Audience Journey ซึ่งเป็นการทาให้ผู้รับสารหนึ่งคน สามารถเดินทางไปรับเนื้อหาในทุก ๆ แพลตฟอร์มได้ ทำไมต้อง Transmedia Storytelling Transmedia Storytelling คือ กลยุทธ์ในการเล่าเรื่อง เพื่อออกแบบเนื้อหาจานวนมาก ให้มารวมกัน และนาเสนอออกไปในหลายรูปแบบ หลาก Platform เป็นการสร้างโลกหนึ่งใบซึ่งเป็นโลกเนื้อหาที่ใหญ่มาก แล้วแตกย่อยเนื้อหาแต่ละส่วน หยิบ รายละเอียดเรื่องราวของเนื้อหาเหล่านั้น ไม่ว่าจะเป็นตัวละครที่แตกต่างกันทุก ๆ ตัวมาเล่าเป็น เรื่องราวของแต่ละตัวเอง
  • 3. การ Design Thinking พบว่าทาให้มีผลต่อการคิดมาก เพราะเมื่อก่อนคิดแบบอยู่ในหัวไม่ได้ เอาออกมาวางข้างนอก จึงทาให้การออกแบบและการคิดไม่ได้หลายกลายเท่าที่ควร การได้ Design Thinking จึงทาให้คิดได้หลากหลายมากขึ้น ทาให้สามารถตัดประเด็นที่ไม่เกี่ยวออกไป ได้ง่ายขึ้น ทาให้มุ่งตรงประเด็นได้ตรงมากขึ้น ทั้งยังให้ให้การทางาน ทาออกมาได้อย่างเป็นระบบ ทาให้ได้วางแผนว่าทาไปเพื่อใคร ทาอะไร และทาอย่างไร Transmedia ทาให้การคิดอย่างเป็นระบบมากขึ้น อย่างแรกคือ storytelling วิธีการเล่า เรื่อง และก็มาวิเคราะส่วนที่ 2 ก็คือกลุ่มเป้าหมายหรือผู้รับสาร ว่าเป็นคนกลุ่มไหน มี พฤติกรรมการรับสารแบบไหน พอวิเคราะเสร็จก็มาวิเคราะต่อว่าจะเอาสื่อที่ทาไปให้เขาใน แพลตฟอร์มหรือช่องทางไหน ทาให้รู้ว่าบางอย่างสามารถเอาหัวข้อแต่ละประเด็นมา เชื่อมโยงกันได้โดยรับฟังความเห็นจากคนในชุมชนจริง ว่าเขาต้องการอะไร การสื่อสารไม่ใช่ เพียงแค่สร้างการรับรู้ แต่ทาให้เกิดผลเชิงพฤติกรรมที่มีประโยชน์ การผลิตสื่อแบบ Transmedia เห็นผลของสื่อนาไปสู่การกระทาบางอย่างในชีวิตจริง ทาให้เห็นว่า สื่อที่ผลิต สามารถทาให้สร้างสรรค์และมีประโยชน์ได้จริง แต่ทาสื่อเพียงรูปแบบเดียวไม่ได้ ต้องคิด หลากหลายและนามาเชื่อมโยงกันให้ได้ Transmedia Design Thinking
  • 4.
  • 5. Narrative Design Narrative Design คือเทคนิคในการออกแบบเนื้อหา ซึ่งประกอบไปด้วยการ ออกแบบวิธีการเล่าเรื่อง การกาหนดประเด็นที่หลากหลาย และการหามุมมองการ เล่าเรื่องในแบบต่างๆ ซึ่งสิ่งสาคัญในการออกแบบเนื้อหาคือ Story หรือเรื่องเล่า ต้องรู้ว่าจะเล่าเรื่องผ่านรูปแบบไหนและ จะต้องคานึงถึง Engagement & Experience ของผู้รับสารที่จะมีต่อเรื่องเล่านั้น การออกแบบเนื้อหา ต้องเกิด - จานวนเรื่องจานวนมาก ที่แตกประเด็นจากหลายมุมมอง - แต่ละประเด็นที่แตกออกมาต้องระบุได้ว่าจะทาให้เกิดประสบการณ์ต่อผู้รับ สารอย่างไร - เรื่องเล่าเหล่านั้น ต้องการพูดกับพูดรับสารกลุ่มไหน ซึ่งผู้รับสารต้องมีความ เฉพาะ จะทาให้แตกมุมมองได้หลากหลาย
  • 6. Audience Experience & Engagement Design Audience Experience & Engagement เป็นการสร้างรูปแบบการปฏิสัมพันธ์ และการมีส่วนร่วมให้เกิดขึ้น ทั้งระหว่างผู้รับสารกับเนื้อหา ผู้รับสารกับผู้รับสาร ด้วยกัน ผู้รับสารกับสังคม และผู้รับสารกับประเด็นต่างๆที่สื่อสารออกไป ประสบการณ์คือ “คิดอะไร” “รู้สึกอะไร” “มีพฤติกรรมอย่างไร” สร้างการมีส่วนร่วม หรือ ปฏิสัมพันธ์ได้อย่างไร ต้องเลิกคิดว่า ผู้รับสารเราเป็นเพียง แค่ผู้รับหรือที่เราเรียกว่า Passive Audience ให้คิดว่าเขาสามารถทาอะไรได้หลาย อย่าง เพราะฉะนั้นเราต้องคิดว่าผู้รับสารของเราเป็นเหมือนผู้เล่น หรือว่า Player ใน โลกเนื้อหาของเรา การเป็นผู้เล่นคืออะไร หมายถึงว่าเขาสามารถที่จะมีพฤติกรรม หลาย ๆ อย่างเกิดขึ้นได้ มี Action หลาย ๆ อย่างได้ ตั้งแต่การพูดคุย การ แลกเปลี่ยน การทากิจกรรม บางอย่างกับเนื้อหา การสร้างเนื้อหาด้วยตัวเอง & /
  • 7. Media & Distribution Design Media & Distribution เป็นการออกแบบและวางแผนในการใช้สื่อและช่องทางในการ สื่อสารเนื้อหาหรือเรื่องเล่า โดยมีการใช้เทคโนโลยีและแพลตฟอร์มต่างในการสื่อสาร ทาการ วางแผนสื่อที่จะใช้ และการเผยแพร่เนื้อหาผ่านช่องทางต่างๆ ในการเล่าเรื่องเรา สามารถเลือกใช้สื่อมาเล่าเรื่องได้หลากหลายประเภทอะไรที่เป็นตัวกลาง ในการที่เราสามารถถ่ายทอดเรื่องราวได้ก็นามาใช้เป็นสื่อได้หมด เพราะหัวใจของการเล่า เรื่องข้ามสื่อ Transmedia Storytellingคือการเลือก ใช้จุดเด่นของแต่ละสื่อสื่อนามาผนวก กันมาผสมผสานกันแล้วสามารถทาให้เราเล่าเรื่องได้หลากหลาย คาถามสาคัญ “ใช้สื่อแต่ละสื่อสร้างประสบการณ์การเรียนรู้ ประสบการณ์ในการเข้าใจถึง เนื้อหา ประสบการณ์ที่จะสร้างปฎิสัมพันธ์ให้กับผู้รับสารของเราได้อย่างไร” และ “สื่อนั้นจะ ทาให้เขาเดินทางไปยังเนื้อหาต่าง ๆ แล้วเข้าใจเรื่องราวทั้งหมดได้อย่างดีที่สุดอย่างไร”
  • 8. 7 Principle of Transmedia Checklist for World building 1. Spreadability vs Drillability คือ "กระจายไปในวงกว้าง" ทา content แล้วต้องทายังไงให้มันกระจายออกไป และ ทาให้อยาก "เจาะให้ลึกลงไป" มีช่องทางให้ค้นต่อ เข้าใจ มากขึ้น 2. Immersion vs Extractability Immersion หมายถึง การเชื่อม ประสบการณ์ทาให้คนอ่านสัมผัสเรื่องราว ความรู้สึกเหมือนเป็นคนที่เจอเรื่องนั้นโดยตรง หรือ รู้สึกร่วม Extractability คือการทาให้คนหยิบเอาสิ่งบางอย่างจากโลกเนื้อหาออกไปสู่ชีวิตจริง 4. Worldbuilding การสร้างโลกของเรื่องราว เนื้อหา ตัวละคน หลายเรื่อง หลายตัวละคร หลายมุมมองให้โลกทับซ้อนกลายเป็นเรื่องเดียวกัน การสร้างโลกเนื้อหา จะมี จุดที่เรียกว่า “ประตูเปิดสู่เรื่อง” หรือ ‘entry point’ เข้าสู่เรื่องราวจากมุมมอง ความสนใจที่ แตกต่าง 3. Continuity vs Multiplicity การสร้างเรื่องเล่าต้องมีความหลากหลาย ให้มุมมองที่แตกต่างหลากมุม แต่ก็ต้องมีความต่อเนื่องที่แต่ละเรื่องเชื่อมโยงกันเพื่อให้รับรู้ ต่อไปได้ไม่รู้จบ สามารถปรับเปลี่ยนได้ตาม ตามบริบทใหม่ที่เปลี่ยนไป 6. Subjectivity มองเรื่องได้จากหลายมุม คือ การสร้างเรื่องราวของตัวละคร เบื้องหลังของเรื่องราว การมองเรื่องมาจากมุมท่แตกต่าง สร้างแพลตฟอร์มให้ตัวละคน แสดงออก ให้ความสาคัญกับการนาทุกมิติ 5. Seriality การสร้างเรื่องเล่าที่ไม่รู้จบ สามารถขยายเรื่องราวไปที่หลาย แพลตฟอร์ม เพื่อ engage คนที่แตกต่าง และทาให้เรื่องดาเนินไปในระยะยาว 7. Performance หรือ FAN CONTENT ทาให้คนมารวมตัว กันกลายเป็นชุมชนของกลุ่มคนที่สนใจในเรื่องเดียวกัน กลายเป็น “แฟน” และ ร่วมกันสร้างเนื้อหาต่อยอดโลก
  • 9. DesignThinking&TransmediaProcess 1Empathize AudiencePersona วิเคราะห์ผู้รับสาร 2DefineStory+ Experience+ACTION เรื่องเล่า-ประสบการณ์-เป้าหมาย 3Ideate Worldbuilding เนื้อหา-สื่อสร้างโลกเรื่องเล่า 4Distribution+ AudienceJourney ต้นแบบเล่าเรื่องข้ามสื่อ 5TestPrototype TestAudience ทดสอบ-ประเมินต้นแบบ เก็บข้อมูล วิเคราะห์ประเด็นของ ผู้รับสารสอดคล้องกับ ประเด็นเรื่องที่จะทา กาหนดPersona DefineStoryIdea: แตกประเด็นเรื่องที่อยากจะเล่า เล่าแล้วจะเกิดประสบการณ์อะไร DefineAudience: จะเล่ากับPersonaกลุ่มไหน DefineAction&Goal: เล่าแล้วอยากให้เกิดพฤติกรรม การลงมือทาอะไรกับเนื้อหา จากทุกActionกาหนดเป้าหมาย ใช้7principlesof Transmedia วางเนื้อหาและสื่อที่จะใช้ โดยคานึงถึงExperience+ Actionที่จะเกิด Multiplestories, Multipleforms, MultiplesMedia วางTimeline ในการนาเสนอเนื้อหา โยงเส้นกาหนด AudienceJourney ผู้รับสารต้องเดินทาง ระหว่างเนื้อหาและ ทุกสื่อที่ทา ทดสอบต้นแบบ ทดสอบกับผู้รับสาร ประเมินผล ปรับเปลี่ยน Re-process
  • 10. หดกเ Empathize Audience Persona กระบวนการที่ 1 ขั้นตอน empathize เป็นขั้นตอนในการวิเคราะห์หาข้อมูล ของผู้รับสารเชิงลึกเพื่อกาหนดเป็นกระบวนการนี้จะเป็นการฝึกให้ผู้รับสาร เก็บข้อมูลวิเคราะห์ประเด็นของผู้รับสารทั้งเรื่องทางภูมิศาสตร์ ประชากรศาสตร์เรื่องของพื้นที่เรื่องทางจิตวิทยาไลฟ์สไตล์และความต้องการ รวมถึง Pain Point ของผู้รับสารนอกจากนั้นจะต้องมีการวิเคราะห์ประเด็น ของผู้รับสารที่สอดคล้องกับเรื่องที่เราต้องการจะสื่อสารแล้วกาหนดออกมา เป็น Persona หรือตุ๊กตาต้นแบบของผู้รับสารที่แบ่งกลุ่มความแตกต่างใน รายละเอียดที่ชัดเจนเป็น segmented audience
  • 11. Define Story + Experience + Action กระบวนการที่ 2 คือการดีไซน์ Story - Experience- Action ขั้นตอนนี้คือ การวิเคราะห์ให้เห็นว่าเรื่องเล่าคืออะไรประสบการณ์จากเรื่องเล่าคืออะไร และเป้าหมายปลายทางที่เราอยากให้เกิดขึ้นจากการสื่อสารนั้นคืออะไร  เริ่มต้นจากการให้ทุกคนคิดแตกประเด็นเรื่องที่อยากจะเล่าให้มี จานวนมากที่สุด มีมุมมองหลากหลายที่สุด เท่าที่จะสามารถทาได้ หลังจากนั้นให้ดูด้วยว่าเรื่องที่แตกออกมาจานวนมากนั้น เมื่อเล่า แล้วก็เกิดประสบการณ์อะไร คาว่าประสบการณ์หมายถึงเล่าแล้วทา ให้ผู้รับสาร คิดอะไรรู้สึกอะไรและจะมีพฤติกรรมอย่างไร  ขั้นตอนที่ 2 ก็คือจะมาจับคู่กับผู้รับสารที่เราได้กาหนด persona ไว้ ว่าเรื่องไหนเหมาะที่จะสื่อสารหรือว่าอยู่ในความสนใจของผู้รับสาร จะมีกลุ่มผู้รับสารที่หลากหลายเพราะเราต้องการให้คนที่แตกต่างกัน เข้ามาจากหลายความสนใจ  ขั้นตอนที่ 3 ของกระบวนการที่สองก็คือการที่ define action และ Goal ให้ผู้รับสารลงมือทาอะไรต่อเนื้อหา ต่อเรื่องราว ต่อประเด็นที่ เราสื่อสาร นาไปสู่เป้าหมายปลายทางซึ่งสามารถวัดผลในเชิง พฤติกรรมที่เกิดขึ้นได้
  • 12. Ideate Storyworld กระบวนการที่ 3 คือกระบวนการ Ideate Story World ขั้นตอนนี้เป็น ขั้นตอนในการใช้ความคิดในการสร้างสรรค์โลกของเนื้อหาโดยเอา ความคิดเอาความชานาญเอาบริบทของทุกคนในทีมมาจับคู่กับการใช้ หลักการจากข้อเพื่อที่จะนา เอาประเด็นที่คิดไว้มา ทาอะไรดีให้กลายเป็น เรื่องเล่าบวกกับการคิดสื่อที่และช่องทางที่จะนาเสนอเรื่องราวนั้นโดย กระบวนการนี้จะผสมผสานเรื่องเล่ากับสื่อที่จะใช้โดยจะต้องมีหัวใจใน การคิดว่าจะตอบโจทย์หลักของการวิเคราะห์ข้อมูลการทาให้มันลึกทาให้ กระจายทาให้คนเกิดประสบการณ์มีประตูเปิดเข้าสู่ เนื้อหาจัดหลาย รูปแบบหลายช่องทางจากหลายความสนใจ และเลือกใช้สีที่จะสามารถทา ให้เกิดประสบการณ์ต่างเป้าหมายได้สิ่งที่ได้ในกระบวนการนี้ก็คือ Multiple Stories เรื่องราวจานวนมาก Multiple Media/Channels การใช้สื่อ จานวนมาก แต่สามารถเชื่อมโยงร้อยกันกลับมาสู่แก่นของเนื้อหาที่สาคัญ
  • 13. Prototype: Distribution & Audience Journey กระบวนการที่ 4 คือขั้นของการ Prototype ต้นแบบสื่อ เป็นขั้นตอนการ ทดลองวางแผนในการนาเสนอเนื้อหาหรือที่เราเรียกว่า Distribution จะมี Timeline ในการวางแผนอย่างไรจะปล่อยเนื้อหาตามลาดับขั้นตอนอย่างไร เพื่อให้เกิดผลได้ดีที่สุดที่นาไปสู่ Action และเป้าหมายปลายทาง ใน ขณะเดียวกันในการวาดวางแผน Timeline นี้ เราจะมีการโยงเส้นที่เรียกว่า Audience Journey เส้นโยงนี้สาคัญมากเพราะเป็นกระบวนการที่ทาให้ผู้ อบรมนั้นได้ฝึกคิดว่าเมื่อผู้รับสารเข้ามาจากช่องทางสื่อหนึ่งของเราเขาจะ เกิดพฤติกรรม หรือ ประสบการณ์อะไร ที่จะกระตุ้นให้เขาเดินทางไปยัง เนื้อหาถัดไป และเนื้อหาถัดไป ไปเรื่อย ๆ จนทาให้เขาสามารถที่จะรับรู้ เนื้อหาเราได้จากทุกรูปแบบและทุกช่องทางมากที่สุด เป็นการทาให้ผู้รับ สารต่อจิ๊กซอเรื่องราวได้ครบถ้วนและเข้าใจสู่แก่นของเรื่องอย่างแท้จริง
  • 14.
  • 15. นำเสนอกับ AUDIENCE Success Fail Re-process จนกว่ำจะใช้ Prototype ได้ Test Audience นำไปทดลอง เผยแพร่จริง
  • 16. กระบวนการ Test User กระบวนการนี้จะทาให้เราเห็นว่าผู้รับสารที่เรา วางแผนไว้และคิดว่าเขาจะสนใจเนื้อหาและมีพฤติกรรมตอบรับกับเนื้อหา เรานั้นเขาสนใจจริงไหมมันสามารถทาให้เกิดประสบการณ์ได้จริงหรือ เปล่า วิธีการ Test User เช่น นาต้นแบบนั้นไปทดลองในการเผยแพร่หรือ ในการอบรมอาจจะมี user ที่เป็นกลุ่มเป้าหมายกลุ่มผู้รับสารมาเป็นคนนั่ง ฟังการนาเสนอแล้วก็ประเมินก็ได้ Success ประสบความสาเร็จ คือ User สนใจและยอมซื้อเนื้อหาเราใน ขณะที่เขาพร้อมที่จะมีประสบการณ์และมีพฤติกรรมร่วมกับเนื้อหาเราได้ fail ไม่ตอบโจทย์ผู้รับสาร ต้องพูดคุยวิเคราะห์ให้ละเอียด แล้ว re-process กลับไปสู่กระบวนการที่ 1 ใหม่ และมองหาว่าจุดใดที่ทาให้ยังไม่โดนใจ ผู้รับสารหรือเป้าหมายยังไม่บรรลุในการสื่อสารแล้วก็สามารถพัฒนา ต้นแบบแล้วเข้าสู่กระบวนการ test ได้อีกครั้งก่อนนาไปใช้จริง Test Prototype Test Audience
  • 17. ควำมคิดเห็น ของผู้ที่ผ่ำนกำรเข้ำร่วม กระบวนกำร Design Thinking & Transmedia Storytelling ทาให้รู้จักการเชื่อมโยง เรื่องราวเข้าด้วยกัน ได้เรียนรู้เรื่อง Transmedia การเข้าร่วมกระบวนการทา ให้ช่วยจัดระเบียบความคิด รู้ว่ารูปแบบการเล่าเรื่องมี หลายรูปแบบ ได้เรียนรู้สิ่งใหม่ๆ ได้เห็นถึงการเชื่อมโยงเนื้อหา เพื่อตอบโจทย์ผู้รับสาร ได้รู้ว่าสื่อทุกแบบสามารถ สร้างรายได้ให้กับผู้ผลิตได้ ช่วยทาให้สามารถคิดและ ออกแบบเนื้อหาได้ หลากหลายขึ้น ทาให้ได้พัฒนาวิธีการคิด ได้รู้ว่าการจะทาเรื่องหนึ่ง เรื่อง จะต้องมี Audience เป็นหลัก ได้รับฟังความคิดเห็นและ แลกเปลี่ยนความเห้นกับคน อื่น ได้เห็นตัวอย่างต่างๆ ที่มี ประโยชน์มาก ทาให้ได้รับไอเดียใหม่ๆ เพื่อ การสร้างสื่อที่ปลอดภัยและ สร้างสรรค์
  • 19. เครื่องมือในกระบวนกำร Silent Brainstrom: คิดเงียบ ๆ คนเดียว ควรใช้ก่อนการระดมความคิดกลุ่มในทุกๆ ขั้น ช่วยให้ลดการไม่กล้าพูด การ Dominate กลุ่มจากใครบางคน ได้ความคิดจากทุกคน Post it process การใช้ post-it ทีละหนึ่งความคิด ต่อหนึ่งแผน ปล่อยความคิดให้ไหล ออกมา **ไม่มีการตัด post-it ใดทิ้ง เพราะทุกความคิดสาคัญ ให้แต่ละทีมจัดระบบ post-it ได้ด้วย ตัวเองในการนาเสนอความคิด แต่ละประเด็นและขั้นตอนมีการแยกสี จะชัดเจนขึ้น Time limit กาหนดเวลาให้ชัดเจน สั้น กระชับในทุกขั้นตอน ไม่ต้องให้เวลานาน เพราะ การคิดแบบเร็ว กระตุ้นให้คิดได้มากกว่า การให้เวลานานกลุ่มจะคุยเรื่องอื่นและลด ประสิทธิภาพการคิด แตกกระบวนการค่อย ๆ ทาไปทีละขั้นในเวลาที่สั้น ๆ Crazy 8 การวาดรูป 8 ช่องปล่อยพลังความคิด เหมือนการทา Storyboard เรื่องเล่าและการใช้ สื่อ เหมาะกับการใช้ทลายกาแพงข้อจากัดเมื่อคิดประเด็นได้น้อยและไม่เป็นเรื่องเล่า พับ กระดาษ 8 ช่อง วาด 1 ช่อง 1 ความคิด ให้เวลาช่องละ 1 นาที ทาไปจนครบ แล้วเล่าให้เพื่อนฟัง 2 – 3 minute pitching ระหว่างทางมีการให้นาเสนอให้กลุ่มอื่นฟังบ้าง และมีการ Vote และ Feedback จากคนอื่น ๆ เพื่อเติมเต็มสิ่งที่ขาด มองกลุ่มอื่นเป็น USER ที่ช่วย test ระหว่างกระบวนการได้ ลากเส้น Audience Journey การลากเส้นการเดินทางของผู้รับสาร ระหว่างแต่ละ เนื้อหา แต่ละสื่อที่วางไว้ บนเส้น อธิบายได้ด้วยว่า “อะไรจูงใจให้เขาไปต่อยังสื่อนั้น หรือ จะมี ACTION อะไรเกิดขึ้น” ต้องทดสอบได้ว่า คนจะไปต่อตามเส้นนั้นจริง “เหมือนต่อจิ๊กซอว์สิ่งที่ อยากรู้ เดินทางไปทุกสื่อ ต่อเรื่องไม่รู้จบ”
  • 20.
  • 21. ผ.ศ.สกุลศรี ศรีสำรคำม กระบวนการ Design Thinking & Transmedia ควรนาไปใช้เพื่อ พัฒนากระบวนการคิด สามารถนาไปใช้ในการพัฒนาคนสื่อ ระดับปัจเจก พัฒนาความร่วมมือประสานงานกันภายในองค์กร สื่อเพื่อทางานแบบข้ามสื่อได้ รวมถึงปรับกระบวนการในการคิด ของทีมผลิตสื่อจะทาให้เห็นโอกาสการพัฒนาสื่อ และ รูปแบบใน การหารายได้ เมื่อผ่านการอบรม สามารถนากระบวนการไป เลือกใช้แต่ละส่วนในกระบวนการทางานจริงได้ จะทาให้เกิด ระบบ เห็นกลยุทธ์ในการเชื่อมโยงความร่วมมือระหว่างทีม และ และโอกาสในการพัฒนาสื่อสร้างสรรค์
  • 22. โครงการพัฒนานวัตกรรมและองค์ความรู้เพื่อผลิตสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์ (Thai Media Lab) สนับสนุนโดย กองทุนพัฒนาสื่อปลิดภัยและสร้างสรรค์ 2562