SlideShare a Scribd company logo
1 of 32
Download to read offline
เศรษฐกิจ CLMV มีแนวโน้มขยายตัวต่อเนื่อง โดยมีแรงส่งจากการ
ท่องเที่ยวและการบริโภคภายในประเทศ แม้การส่งออกและการลงทุนโดยตรง
จากต่างประเทศค่อนข้างซบเซา ทั้งนี้แต่ละประเทศมีอัตราการฟื้นตัว
ที่ไม่เท่ากัน ขึ้นกับปัจจัยเสี่ยงกดดันรายประเทศที่ต้องจับตา
CLMV
Outlook
มุมมองเศรษฐกิจ CLMV ปี 2023
ณ เดือน ก.ค. 2023
2
สรุปแนวโน้มเศรษฐกิจ CLMV ปี 2023
เศรษฐกิจกัมพูชามีแนวโน้มขยายตัวดีกว่าคาดที่ 5.9% ในปี 2023 (เดิมคาด 5.5%) จากภาคการท่องเที่ยวที่ฟื้นตัวต่อเนื่องทั้งด้านจานวนนักท่องเที่ยวและค่าใช้จ่ายต่อหัว โดยเฉพาะหลังการ
เปิดประเทศของจีน ขณะที่การบริโภคภายในประเทศทยอยปรับดีขึ้นตามตลาดแรงงานที่ฟื้นตัวและเงินเฟ้อที่ชะลอลง ทั้งนี้การส่งออกและการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศยังค่อนข้างซบเซา
คาดว่าเศรษฐกิจกัมพูชาจะทยอยปรับดีขึ้นในช่วงครึ่งหลังของปี ปัจจัยเสี่ยงที่ต้องจับตา ได้แก่ การจ้างงานในภาคการผลิตที่อาจชะลอตัวตามการส่งออกและกระทบการบริโภคต่อไป
เศรษฐกิจสปป.ลาวมีแนวโน้มฟื้นตัวค่อยเป็นค่อยไปที่ 4.0% ในปี 2023 (เดิมคาด 3.0%) โดยมีแรงสนับสนุนจากภาคการท่องเที่ยวและบริการหลังการเปิดประเทศของจีน รวมถึงปัจจัยเอื้อ
จากโครงการรถไฟความเร็วสูงจีน – สปป.ลาว และโครงการท่าเรือแห้งท่านาแล้ง (Thanaleng Dry Port) อย่างไรก็ดี เศรษฐกิจยังมีความเปราะบางจากเงินเฟ้อสูง หนี้สาธารณะสูงเทียบกับ
มูลค่าทุนสารองระหว่างประเทศ และเงินกีบอ่อนค่าต่อเนื่อง สปป.ลาวจึงมีแนวโน้มใช้นโยบายการเงินและนโยบายการคลังตึงตัว ซึ่งจะกระทบศักยภาพของเศรษฐกิจในระยะปานกลางได้
เศรษฐกิจเมียนมีแนวโน้มขยายตัว 3.0% ในปีงบประมาณ 2022/2023 สะท้อนสถานการณ์ในประเทศที่ทยอยกลับมาเป็นปกติมากขึ้นจากฐานที่ต่ามาก อย่างไรก็ตาม เศรษฐกิจยังถูกกดดัน
จากความไม่แน่นอนทางการเมืองต่อเนื่อง ส่งผลให้กิจกรรมทางเศรษฐกิจและตลาดแรงงานยังอ่อนแอ ขณะที่ชาติตะวันตกยังคงใช้มาตรการคว่าบาตรต่อเนื่องส่งผลให้การฟื้นตัวของ
เศรษฐกิจเป็นไปได้อย่างจากัด และเกิดปัญหาการขาดแคลนปริมาณเงินหมุนเวียนในระบบ ปัจจัยทางการเมืองจะยังเป็นประเด็นกดดันให้เศรษฐกิจเมียนมาเติบโตต่าในระยะปานกลาง
เศรษฐกิจกิจเวียดนามมีแนวโน้มขยายตัวซบเซาต่ากว่าคาดการณ์ก่อนหน้าที่ 5.0% ในปี 2023 (เดิมคาด 6.2%) จากการส่งออกและการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศที่อ่อนแอ ประกอบกับ
ความเสี่ยงอื่น ๆ รุมเร้า อาทิ การขาดแคลนสภาพคล่องในระบบการเงินจากภาวะการเงินตึงตัว ส่งผลให้ภาคอสังหาฯ ชะลอตัวรุนแรง และบางธุรกิจไม่สามารถระดมทุนได้ ซึ่งจะกระทบความ
เชื่อมั่นและการลงทุน ขณะที่ภาคสถาบันการเงินอาจเปราะบางมากขึ้นจากปัญหาหนี้เสีย ตลอดจนปัจจัยอื่น ๆ ที่ยังต้องจับตา อาทิ ความไม่แน่นอนทางการเมืองหลังการเปลี่ยนประธานาธิบดี
และการขาดแคลนพลังงานไฟฟ้า ทั้งนี้การบริโภคภายในประเทศยังสามารถขยายตัวได้ นโยบายการเงินและนโยบายการคลังมีแนวโน้มผ่อนคลายต่อไปเพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจ
กัมพูชา
สปป.ลาว
เมียนมา
เวียดนาม
3
เศรษฐกิจ CLMV มีแนวโน้มขยายตัวต่อเนื่องในปีนี้ โดยมีแรงขับเคลื่อนจากภาคการท่องเที่ยวและภาคบริการ
แต่แนวโน้มการเติบโตมีความแตกต่างกันระหว่างประเทศ ขึ้นกับปัจจัยเสี่ยงกดดันรายประเทศ
หมายเหตุ : *กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก
ที่มา : การวิเคราะห์โดย EIC จากข้อมูลของ
หมายเหตุ : *คาดการณ์ก่อนหน้า ณ เดือน ม.ค. 2023 **ปี 2023F ของเมียนมาคือปีงบประมาณ 2022/2023
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของสานักงานสถิติกลุ่มประเทศ CLMV และ IMF
คาดการณ์อัตราการขยายตัวของเศรษฐกิจ CLMV ปี 2023
หน่วย : %YOY
ปัจจัยบวก
ปัจจัยลบ
ปัจจัยเสี่ยงที่ควรจับตา
7.0
7.3
6.6 6.6
5.3
4.4
2.0
8.0
5.9
4.0
3.0
5.0
0
1
2
3
4
5
6
7
8
9
กัมพูชา สปป.ลาว เมียนมา** เวียดนาม
ค่าเฉลี่ยปี 2010-2019 2022 2023f
(5.5)*
(3.0)*
(3.0)*
(6.2)*
• ภาคการท่องเที่ยวฟื้นตัวต่อเนื่อง ทั้งจานวนนักท่องเที่ยวและ
รายจ่ายต่อหัว โดยมีปัจจัยกระตุ้นจากการเปิดประเทศของจีน
• อุปสงค์ภายในประเทศฟื้นตัว ตามตลาดแรงงานที่ปรับดีขึ้น
• นักลงทุนยังสนใจเศรษฐกิจ CLMV จากความได้เปรียบของค่าจ้าง
แรงงาน การเชื่อมโยงในภูมิภาค และตลาดในประเทศที่เติบโตเร็ว
• เศรษฐกิจโลกเติบโตชะลอลง กดดันการส่งออกและการลงทุนโดยตรง
จากต่างประเทศในปีนี้
• ภาวะการเงินตึงตัวขึ้น ทาให้ต้นทุนการระดมทุนสูงขึ้น และกดดัน
การลงทุนของธุรกิจ
• ปัจจัยลบเฉพาะประเทศ อาทิ ความไม่แน่นอนทางการเมืองในเมียนมา
• การจ้างงานในภาคการผลิตที่อาจชะลอลง หากการส่งออกฟื้นช้า
• ภาระหนี้สูงในบางประเทศ โดยเฉพาะหนี้สาธารณะในสปป.ลาว
และหนี้ภาคอสังหาฯ ในเวียดนาม
• ค่าเงินอาจอ่อนค่าต่อเนื่อง ตามการแข็งค่าของดอลลาร์สหรัฐ
ส่งผลให้เงินเฟ้อลดลงช้า
4
ภาคการท่องเที่ยวและการบริโภคภายในประเทศ โดยเฉพาะภาคบริการ เป็นปัจจัยบวกต่อ CLMV แต่เศรษฐกิจ
โลกที่ขยายตัวชะลอลง โดเฉพาะภาคการผลิต จะกดดันการส่งออกและการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ
หมายเหตุ : *สปป.ลาวไม่ได้รายงานจานวนนักท่องเที่ยวรายเดือนตั้งแต่ปี 2020
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ S&P Global, OECD, Vietnam General Statistics Office และ CEIC
ภาคการท่องเที่ยวและการบริโภคในประเทศขยายตัวต่อเนื่อง ภาคการผลิตโลกซบเซาและความเชื่อมั่นยังไม่ฟื้นตัว กระทบแนวโน้มการส่งออกและการลงทุนใน CLMV
ดัชนี Manufacturing PMI ประเทศคู่ค้าสาคัญ
หน่วย : ดัชนี (>50 = ขยายตัว, <50 = หดตัว)
จานวนนักท่องเที่ยวต่างชาติ*
หน่วย : ล้านคน
ดัชนี Manufacturing Confidence Indicator ของ OECD
หน่วย : ดัชนี (>100 = ขยายตัว, <100 = หดตัว)
0.0
0.5
1.0
1.5
2.0
2.5
ค่
า
เฉลี
่
ย
2019
01/2022
02/2022
03/2022
04/2022
05/2022
06/2022
07/2022
08/2022
09/2022
10/2022
11/2022
12/2022
01/2023
02/2023
03/2023
04/2023
05/2023
เวียดนาม กัมพูชา เมียนมา
อัตราการขยายตัวของยอดค้าปลีกเวียดนาม
หน่วย : %YOY
0
10
20
Oct-22 Nov-22 Dec-22 Jan-23 Feb-23 Mar-23 Apr-23 May-23 Jun-23
Goods Accomodation & Food Tourism Other services
30
35
40
45
50
55
60
65
70
Jan-21
Apr-21
Jul-21
Oct-21
Jan-22
Apr-22
Jul-22
Oct-22
Jan-23
Apr-23
Global US Eurozone
China Japan ASEAN
94
96
98
100
102
104
106
Jan-21
Apr-21
Jul-21
Oct-21
Jan-22
Apr-22
Jul-22
Oct-22
Jan-23
Apr-23
US Eurozone China
Japan South Korea
การเปิดประเทศของจีนเป็นปัจจัยกระตุ้นภาคการท่องเที่ยว แต่มีอานิสงส์จากัดต่อการส่งออก
เนื่องจากเศรษฐกิจจีนฟื้นตัวจากภาคบริการเป็นหลัก ซึ่งมีการนาเข้าสินค้าน้อยกว่าภาคอุตสาหกรรมที่ยังซบเซา
5
อัตราเงินเฟ้อชะลอตัวลงตามราคาสินค้าโภคภัณฑ์โลก แต่ยังมีแรงกดดันจากค่าเงินอ่อนค่าตามทิศทางการขึ้น
ดอกเบี้ยของ Fed และความเปราะบางของเศรษฐกิจในประเทศ นโยบายการเงินจึงแตกต่างกันตามบริบทประเทศ
หมายเหตุ : *เมียนมาไม่ได้รายงานตัวเลขเงินเฟ้อตั้งแต่เดือน ก.ค. 2021
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ CEIC
อัตราเงินเฟ้อทั่วไป
หน่วย : %YOY
อัตราดอกเบี้ยนโยบาย
หน่วย : %YOY
0
20
40
60
-5
0
5
10
15
20
25
Jan-21
Mar-21
May-21
Jul-21
Sep-21
Nov-21
Jan-22
Mar-22
May-22
Jul-22
Sep-22
Nov-22
Jan-23
Mar-23
May-23
Cambodia Myanmar* Vietnam Lao PDR (แกนขวา)
2
4
6
8
Jan-21
Mar-21
May-21
Jul-21
Sep-21
Nov-21
Jan-22
Mar-22
May-22
Jul-22
Sep-22
Nov-22
Jan-23
Mar-23
May-23
Lao PDR Myanmar Vietnam (Refinancing rate)
ทิศทางอัตราดอกเบี้ยนโยบายมีความแตกต่างกัน เช่น เวียดนามลดดอกเบี้ยเพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจ
และเพิ่มสภาพคล่อง ขณะที่สปป.ลาวขึ้นดอกเบี้ยเพื่อรักษาเสถียรภาพราคาและค่าเงิน
ดัชนีค่าเงินประเทศ CLMV ต่อดอลลาร์สหรัฐ
หน่วย : ดัชนี (2 ม.ค. 2021 = 100)
ดัชนีค่าเงินดอลลาร์สหรัฐ (US Dollar Index)
หน่วย : ดัชนี
0
100
200
300
98
100
102
104
Jan-21
Mar-21
May-21
Jul-21
Sep-21
Nov-21
Jan-22
Mar-22
May-22
Jul-22
Sep-22
Nov-22
Jan-23
Mar-23
May-23
Jul-23
KHR VND LAK (แกนขวา) MMK (แกนขวา)
80
90
100
110
120
Jan-21
Mar-21
May-21
Jul-21
Sep-21
Nov-21
Jan-22
Mar-22
May-22
Jul-22
Sep-22
Nov-22
Jan-23
Mar-23
May-23
Jul-23
อ่อนค่า
แข็งค่า
ดอลลาร์สหรัฐแข็งค่า
ดอลลาร์สหรัฐอ่อนค่า
6
การค้าและการลงทุนโดยตรงระหว่างไทยกับ CLMV ซบเซาในช่วงครึ่งปีแรก ตามภาคการผลิตที่ชะลอตัว
และสภาพแวดล้อมการทาธุรกิจใน CLMV บางประเทศที่ยังไม่เอื้อในระยะสั้น ขณะที่จานวนแรงงาน CLM ในไทยทรงตัว
หมายเหตุ : *ที่ขึ้นทะเบียนกับสานักบริหารแรงงานต่างด้าว สานักงานบริหารแรงงานต่างด้าวได้มีการรายงานตัวเลขใหม่เพื่อให้สอดคลองกับมติครม. วันที่ 7 ก.พ. 2023 ตั้งแต่เดือน ก.พ. เป็นต้นไป
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของกระทรวงพาณิชย์ ธนาคารแห่งประเทศไทย และสานักบริหารแรงงานต่างด้าว
การส่งออกและนาเข้าสินค้าของไทยกับ CLMV
หน่วย : %YOY
การลงทุนโดยตรงจากไทยไป CLMV
หน่วย : ล้านดอลลาร์สหรัฐ
การจ้างงานแรงงาน CLM ในไทย*
หน่วย : คน
-40
-30
-20
-10
0
10
20
30
40
50
60
Jan-19
Jun-19
Nov-19
Apr-20
Sep-20
Feb-21
Jul-21
Dec-21
May-22
Oct-22
Mar-23
Exports (TH to CLMV)
Imports (TH from CLMV)
0
1000
2000
3000
4000
5000
6000
0
200
400
600
800
1000
1200
1400
1600
1800
Q1/19
Q3/19
Q1/20
Q3/20
Q1/21
Q3/21
Q1/22
Q3/22
Q1/23
2019
2020
2021
2022
กัมพูชา สปป.ลาว เมียนมา เวียดนาม
0
400,000
800,000
1,200,000
1,600,000
2,000,000
2,400,000
2,800,000
Feb-23 Mar-23 Apr-23 May-23 Jun-23
เมียนมา กัมพูชา สปป.ลาว
การค้าระหว่างไทยกับ CLMV หดตัวในช่วงครึ่งแรกของปี
สอดคล้องภาพรวมการค้าโลกที่ชะลอตัว แต่คาดว่าจะขยายตัวได้ดีขึ้น
ในช่วงครึ่งหลังของปีจากปัจจัยฐานต่าและเศรษฐกิจที่เติบโตดีขึ้น
การลงทุนโดยตรงจากไทยไป CLMV ซบเซาต่อเนื่อง สะท้อน
หลายปัจจัยกดดัน เช่น ต้นทุนการระดมทุนสูงขึ้น เศรษฐกิจยัง
ฟื้นตัวไม่เต็มที่ และปัจจัยเสี่ยงรายประเทศที่กระทบการทาธุรกิจ
จานวนแรงงาน CLM ในไทยทรงตัวในช่วงครึ่งแรกของปี
โดยแรงงานกัมพูชาและสปป.ลาวเพิ่มขึ้น
ขณะที่แรงงานเมียนมาลดลง
เศรษฐกิจกัมพูชามีแนวโน้มขยายตัวดีกว่าคาด จากภาคการท่องเที่ยวและการบริโภคภายในประเทศที่ฟื้นตัว ปัจจัยเสี่ยง
ที่ต้องจับตา ได้แก่ ภาคการผลิตและการส่งออกเครื่องนุ่งห่มที่ชะลอตัวและการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศที่ยังซบเซา
เศรษฐกิจกัมพูชา
8
SCB EIC ปรับเพิ่มคาดการณ์การขยายตัวของเศรษฐกิจกัมพูชาเป็น 5.9% (เดิม 5.5%) ตามจานวนนักท่องเที่ยว
ต่างชาติที่เพิ่มขึ้นต่อเนื่อง โดยเฉพาะนักท่องเที่ยวจีน และการบริโภคภายในประเทศที่ฟื้นตัว
หมายเหตุ : *กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก
ที่มา : การวิเคราะห์โดย EIC จากข้อมูลของ
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ CEIC National Institute of Statistics และ National Bank of Cambodia
อัตราการขยายตัวของเศรษฐกิจกัมพูชา
หน่วย : %YOY
6.0
7.1 7.3 7.4 7.1 7.0 6.9 7.0 7.5 7.1
-3.1
3.0
5.3
5.9
-4
-2
0
2
4
6
8
10
2010 2011 2012 2013 2014 2015 2016 2017 2018 2019 2020 2021 2022 2023f
Agriculture, Fishery, Forestry Industry Services Others
อัตราการเติบโตเฉลี่ย 7%
เศรษฐกิจกัมพูชาจะยังคงเติบโตต่ากว่าช่วงก่อน COVID-19 สะท้อนการฟื้นตัวที่ยังไม่เต็มที่ ส่วนหนึ่งจากจานวน
นักท่องเที่ยวต่างชาติที่ยังอยู่ต่ากว่าระดับก่อน COVID-19 และรายได้แรงงานที่ฟื้นตัวค่อยเป็นค่อยไป
ปัจจัยบวก
ปัจจัยลบ
ปัจจัยเสี่ยงที่ควรจับตา
• ภาคการท่องเที่ยวฟื้นตัวต่อเนื่อง จานวนนักท่องเที่ยวและการใช้
จ่ายต่อหัวปรับสูงขึ้น โดยเฉพาะหลังการเปิดประเทศของจีน
• อุปสงค์ภายในประเทศฟื้นตัว ตามตลาดแรงงานที่ปรับดีขึ้นและการ
ฟื้นตัวของภาคบริการ
• เศรษฐกิจโลกเติบโตชะลอลง กดดันการส่งออกและการลงทุน
โดยตรงจากต่างประเทศ
• ภาวะการเงินในประเทศตึงตัวขึ้น ตามนโยบายการเงินของสหรัฐฯ
ผ่านช่องทางอัตราดอกเบี้ยเงินฝากและเงินกู้สกุล USD ที่สูงขึ้น
เนื่องจากเศรษฐกิจพึ่งพาการใช้ USD สูง (Dollarized economy)
• หนี้ภาคเอกชนสูง เป็นความเสี่ยงต่อเสถียรภาพระบบการเงิน
• การจ้างงานในภาคการผลิตที่อาจอ่อนแอลง ตามอุตสาหกรรม
เครื่องนุ่งห่มที่ซบเซา
• การเลือกตั้งทั่วไปในเดือน ก.ค. 2023 และนัยต่อนโยบายการคลัง
Cambodia
9
จานวนนักท่องเที่ยวเข้ากัมพูชาเพิ่มขึ้นต่อเนื่องหลังการเปิดประเทศของจีน ขณะที่การส่งออกยังซบเซา แต่มี
แนวโน้มปรับดีขึ้นในครึ่งปีหลังจากปัจจัยฐานต่าและการส่งออกสินค้าอุตสาหกรรมขับเคลื่อนใหม่ของภาครัฐ
หมายเหตุ : *กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก
ที่มา : การวิเคราะห์โดย EIC จากข้อมูลของ
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ Ministry of Tourism และ General Department of Customs and Excise of Cambodia
จานวนผู้เยี่ยมเยือน
หน่วย : ราย
การส่งออก (หักทอง โลหะมีค่า และไข่มุก)
หน่วย : %YOY
รายได้จากการท่องเที่ยว
หน่วย : ล้านดอลลาร์สหรัฐ หน่วย : % ของ GDP
0
200,000
400,000
600,000
800,000
Jan-19
Apr-19
Jul-19
Oct-19
Jan-20
Apr-20
Jul-20
Oct-20
Jan-21
Apr-21
Jul-21
Oct-21
Jan-22
Apr-22
Jul-22
Oct-22
Jan-23
China East Asia ex. CN ASEAN Europe Americas Others
-40
-20
0
20
40
60
Jan-22
Feb-22
Mar-22
Apr-22
May-22
Jun-22
Jul-22
Aug-22
Sep-22
Oct-22
Nov-22
Dec-22
Jan-23
Feb-23
Mar-23
Apr-23
Clothing, apparels & footwear Leather & travel goods
Electrical machinery & electronics Cereals & fruits
Vehicles Others
Total
0
10
20
0
1,000
2,000
3,000
4,000
5,000
2010 2011 2012 2013 2014 2015 2016 2017 2018 2019 2020 2021 2022
Tourism revenue % of GDP (RHS)
การส่งออกกัมพูชาหดตัวต่อเนื่องตามอุปสงค์โลกขยายตัวชะลอลง โดยเฉพาะเครื่องนุ่งห่ม
แต่มีปัจจัยบวกจากการส่งออกผลไม้ไปจีนและการส่งออกสินค้าอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งเป็นอุตสาหกรรม
ขับเคลื่อนใหม่ ทั้งนี้การส่งออกมีแนวโน้มปรับดีขึ้นในช่วงครึ่งปีหลังจากปัจจัยฐานต่า
ภาคการท่องเที่ยวของกัมพูชาได้รับการสนับสนุนจากนักท่องเที่ยวจีนที่เริ่มเดินทางเข้ามามากขึ้น
แต่ยังอยู่ในระดับต่ากว่าก่อน COVID-19 มาก จึงยังมีศักยภาพที่จะฟื้นตัวได้อีกสูง โดยนักท่องเที่ยวจีนมี
ค่าใช้จ่ายต่อหัวสูงกว่านักท่องเที่ยวอาเซียน ส่งผลให้รายได้จากการท่องเที่ยวเพิ่มขึ้นในปีนี้
Cambodia
10
การลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศและการลงทุนในประเทศฟื้นตัวช้า โดยเฉพาะภาคอสังหาริมทรัพย์ ส่วนหนึ่ง
เป็นผลจากอุปสงค์การลงทุนจากต่างประเทศที่เพิ่งเริ่มกลับมาและภาวะการเงินในประเทศที่ตึงตัวขึ้น
หมายเหตุ : *กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก
ที่มา : การวิเคราะห์โดย EIC จากข้อมูลของ
หมายเหตุ : *โดย Council for the Development of Cambodia (Cambodian Investment Board) **ที่ไม่ใช่สถาบันการเงิน
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ National Bank of Cambodia
การลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศสุทธิ (Net FDI flow)
หน่วย : ล้านดอลลาร์สหรัฐ หน่วย : %YOY
มูลค่าการลงทุนในสินทรัพย์ถาวรที่ได้รับการอนุมัติ
หน่วย : ล้านดอลลาร์สหรัฐ
อัตราการขยายตัวของยอดคงค้างสินเชื่อธุรกิจ**
หน่วย : %YOY
0
500
1000
1500
2000
2500
3000
3500
4000
Agriculture Industry Services
Tourism Energy Others
0
20
40
60
Jan-18
Jul-18
Jan-19
Jul-19
Jan-20
Jul-20
Jan-21
Jul-21
Jan-22
Jul-22
Jan-23
Total of which: Construction
of which: Real estate
-25
0
25
50
75
100
-300
0
300
600
900
1200
Q1/18
Q3/18
Q1/19
Q3/19
Q1/20
Q3/20
Q1/21
Q3/21
Q1/22
Q3/22
FDI Growth (RHS)
การลงทุนในโครงการ
โครงสร้างพื้นฐาน 1.3
พันล้านดอลลาร์สหรัฐ
Year Value Growth
2018 3,213 15.2%
2019 3,670 14.2%
2020 3,627 -1.2%
2021 3,511 -3.2%
2022 3,591 2.3%
มูลค่า FDI ไหลเข้ากัมพูชา
ค่อนข้างซบเซาระหว่างปี
2020-2022 โดยยังต่ากว่า
ในปี 2019 แต่เริ่มมี
สัญญาณปรับดีขึ้นหลัง
กัมพูชาเปิดประเทศหลัง
COVID-19 และเศรษฐกิจ
ทยอยฟื้นตัว
SCB EIC มองว่าการลงทุนทั้งจากในและนอกประเทศจะฟื้นตัว
ค่อยเป็นค่อยไป โดยเฉพาะหลังจีนเปิดประเทศ แต่ยังมีปัจจัยกดดัน
จากมูลค่าการลงทุนที่ได้รับอนุมัติ* ที่มีน้อยตั้งแต่ปี 2021
Year
(avg.)
Total
(%YOY)
Con.
(%YOY)
RE.
(%YOY)
2018 17.5% 23.2% 47.8%
2019 22.6% 28.6% 43.2%
2020 17.8% 20.8% 30.6%
2021 22.5% 28.6% 26.7%
2022 24.5% 20.6% 36.1%
4M23 15.0% 12.6% 18.9%
ภาวะการเงินที่ตึงตัวขึ้น
เป็นอีกปัจจัยกดดันการ
ลงทุนของกัมพูชา
จากต้นทุนการกู้ยืมสูงขึ้น
ทาให้การปล่อยสินเชื่อ
ธุรกิจ โดยเฉพาะภาค
การก่อสร้างและอสังหาฯ
ชะลอตัว
Cambodia
11
อุปสงค์ภายในประเทศมีแนวโน้มฟื้นตัวต่อเนื่องในปีนี้ โดยมีปัจจัยสนับสนุนจากตลาดแรงงานที่ปรับดีขึ้น การฟื้นตัว
ของภาคบริการ และอัตราเงินเฟ้อที่ชะลอลง ทั้งนี้ต้องจับตาปัจจัยเสี่ยงการจ้างงานในภาคการผลิต
หมายเหตุ : *กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก
ที่มา : การวิเคราะห์โดย EIC จากข้อมูลของ
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ National Institute of Statistics Ministry of Tourism และ CEIC
จานวนนักท่องเที่ยวภายในประเทศ
หน่วย : จานวนทริป
อัตราเงินเฟ้อ
หน่วย : %YOY
0
2,000,000
4,000,000
6,000,000
8,000,000
10,000,000
12,000,000
14,000,000
2018 2019 2020 2021 2022
-1
0
1
2
3
4
5
6
7
8
Jan-21
Apr-21
Jul-21
Oct-21
Jan-22
Apr-22
Jul-22
Oct-22
Jan-23
Apr-23
Others
Transportation
Housing & utilities
Food & non-alcoholic beverages
Headline inflation
Core inflation
1. การฟื้นตัวของภาคการท่องเที่ยวและบริการ มีแนวโน้มเพิ่ม
ความเชื่อมั่นของผู้บริโภคผ่านรายได้ในตลาดแรงงานที่สูงขึ้น
และสนับสนุนการใช้จ่ายต่อไป
2. ความต้องการใช้จ่าย (Pent-up demand) ยังคงมีอยู่สะท้อนจาก
การท่องเที่ยวภายในประเทศปี 2022 ที่ฟื้นกลับมาสูงกว่าระดับ
ก่อน COVID-19 แล้ว
3. อัตราเงินเฟ้อชะลอลง ตามราคาสินค้าโภคภัณฑ์โลกที่ลดลง
และฐานสูง จะสนับสนุนให้รายได้ที่แท้จริง (Real income)
ของผู้บริโภคเพิ่มขึ้น
4. มาตรการช่วยเหลือกลุ่มเปราะบางของภาครัฐ ผ่านการโอนเงิน
เยียวยา ซึ่งจะช่วยให้กลุ่มเปราะบางมีสภาพคล่องเพิ่มขึ้น
ทั้งนี้ต้องจับตาการจ้างงานในภาคการผลิตที่อาจชะลอลงตามการ
ส่งออก โดยเฉพาะในอุตสาหกรรมการผลิตเครื่องนุ่งห่ม ซึ่งอาจ
กระทบรายได้แรงงานตามมา
ปัจจัยสนับสนุนการบริโภคภาคเอกชน
Cambodia
12
การขาดดุลบัญชีเดินสะพัดมีแนวโน้มปรับดีขึ้น หลังรัฐบาลออกมาตรการจากัดการนาเข้าทองและรายได้การท่องเที่ยว
ฟื้นตัว ส่งผลให้เสถียรภาพด้านต่างประเทศปรับดีขึ้น แม้ภาวะการเงินยังคงตึงตัวตามนโยบายการเงินสหรัฐฯ
หมายเหตุ : *กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก
ที่มา : การวิเคราะห์โดย EIC จากข้อมูลของ
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ National Bank of Cambodia
ค่าเงิน KHR
หน่วย : USD/KHR หน่วย : THB/KHR
ดุลบัญชีเดินสะพัด
หน่วย : % ของ GDP
อัตราดอกเบี้ยเงินฝากและเงินกู้ธนาคารเฉลี่ย (สกุลเงิน USD)
หน่วย : %
4.8
10.5
4.8
8.8
4.3
9.1
4.7
9.7
5.4
10.0
0
2
4
6
8
10
12
Deposits Loans
2018 2019 2020 2021 2022
100
105
110
115
120
125
130
135
140
4000
4020
4040
4060
4080
4100
4120
4140
4160
4180
4200
Jan-21
May-21
Sep-21
Jan-22
May-22
Sep-22
Jan-23
May-23
USD/KHR THB/KHR (RHS)
-75
-50
-25
0
25
Q1/19 Q3/19 Q1/20 Q3/20 Q1/21 Q3/21 Q1/22 Q3/22
Goods Services
Primary income Secondary income
Current account
KHR แข็งค่า
KHR อ่อนค่า
เงินเรียลเผชิญแรงกดดันด้านอ่อนค่าอีกครั้ง หลังดอลลาร์
สหรัฐกลับมาแข็งค่าตามมุมมองตลาดการเงินที่เพิ่มโอกาสว่า Fed
จะขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบายอีก
การขาดดุลบัญชีเดินสะพัดมีแนวโน้มปรับดีขึ้น ตามมูลค่า
นาเข้าทองคาและน้ามันที่ลดลง ขณะที่รายได้จากการท่องเที่ยว
เพิ่มขึ้น ช่วยให้เสถียรภาพต่างประเทศปรับดีขึ้น
ภาวะการเงินมีความสัมพันธ์กับทิศทางนโยบายการเงินสหรัฐฯ สูง
เนื่องจากระบบเศรษฐกิจที่ใช้เงินดอลลาร์สหรัฐ (Dollarized
economy) โดยคาดว่าภาวะการเงินจะยังคงตึงตัวต่อเนื่องในปีนี้
Cambodia
เศรษฐกิจสปป.ลาวมีแนวโน้มฟื้นตัวค่อยเป็นค่อยไป โดยมีปัจจัยสนับสนุนจากภาคการท่องเที่ยวและบริการหลังจีนเปิดประเทศ
อย่างไรก็ดี เศรษฐกิจยังมีความเปราะบางจากหนี้สาธารณะสูง ขณะที่ทุนสารองระหว่างประเทศต่าและเงินกีบอ่อนค่ารุนแรง
ซึ่งจะกดดันการเติบโตของเศรษฐกิจในระยะต่อไป
เศรษฐกิจสปป.ลาว
14
SCB EIC ปรับเพิ่มคาดการณ์เศรษฐกิจสปป.ลาวเป็น 4.0% (เดิมคาด 3.0%) โดยมีภาคการท่องเที่ยวและบริการ
เป็นปัจจัยขับเคลื่อน ทั้งนี้เศรษฐกิจยังมีความเปราะบางสูง ส่งผลให้อัตราการขยายตัวต่ากว่าค่าเฉลี่ยในอดีต
หมายเหตุ : *กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก
ที่มา : การวิเคราะห์โดย EIC จากข้อมูลของ
หมายเหตุ : *ท่าบกท่านาแล้ง (Thanaleng Dry Port) คือจุดเปลี่ยนถ่ายสินค้าซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของโครงการ Vientiane Logistics Park
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ Bank of the Lao PDR
Lao PDR
อัตราการขยายตัวของเศรษฐกิจสปป.ลาว
หน่วย : %YOY
ปัจจัยบวก
ปัจจัยลบ
ปัจจัยเสี่ยงที่ควรจับตา
• การเปิดประเทศของจีน ช่วยสนับสนุนภาคการส่งออก การลงทุนโดยตรง
จากต่างประเทศ และการท่องเที่ยว
• โครงการลงทุนโครงสร้างพื้นฐานโลจิสติกส์ อาทิ รถไฟความเร็วสูงจีน-
สปป.ลาว และท่าบกท่านาแล้ง* สนับสนุนการเดินทางและขนส่งภายใน
ภูมิภาค
• อัตราเงินเฟ้ออยู่ในระดับสูงมาก กระทบการใช้จ่ายผู้บริโภคและ
ต้นทุนธุรกิจ อาทิ ราคาปุ๋ยและวัตถุดิบ
• พื้นที่การคลังมีเหลือไม่มาก กดดันการลงทุนโครงการโครงสร้าง
พื้นฐานและการใช้จ่ายกระตุ้นเศรษฐกิจ
• ภาระหนี้ต่างประเทศสูง ท่ามกลางทุนสารองระหว่างประเทศที่ต่า
ขณะที่ช่องทางการระดมทุนมีจากัดมากขึ้น
• เงินกีบมีแนวโน้มอ่อนค่าต่อเนื่อง จากเสถียรภาพในประเทศที่
เปราะบางและการแข็งค่าของดอลลาร์สหรัฐ
• ภัยแล้งอาจกระทบผลผลิตเกษตรกรรมและการผลิตไฟฟ้าพลังงานน้า
ซึ่งเป็นสินค้าส่งออกสาคัญ
8.0
7.6
7.3 7.0 6.9
6.2
5.5
3.3
3.5
4.4
4.0
-1
0
1
2
3
4
5
6
7
8
9
2013 2014 2015 2016 2017 2018 2019 2020 2021 2022 2023f
Agriculture, Fishery, Forestry Industry Services Others
อัตราการเติบโตเฉลี่ย 6.9%
15
ภาคการท่องเที่ยวและบริการเป็นปัจจัยขับเคลื่อนเศรษฐกิจปีนี้ โดยได้การสนับสนุนจากการเปิดประเทศของจีนและ
โครงการโลจิสติกส์ที่ส่งเสริมการเชื่อมต่อในภูมิภาค ซึ่งคาดว่าจะเป็นปัจจัยกระตุ้นการส่งออกและการลงทุนต่อไป
หมายเหตุ : *กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก
ที่มา : การวิเคราะห์โดย EIC จากข้อมูลของ
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ CEIC, Bank of the Lao PDR และสานักข่าวต่างประเทศ
Lao PDR
มูลค่าการส่งออกสินค้า
หน่วย : ล้านดอลลาร์สหรัฐ
จานวนนักท่องเที่ยวต่างชาติในช่วง 4 เดือนแรกของแต่ละปี
หน่วย : ล้านคน
หน่วย : %YOY
-20
0
20
40
60
80
100
-400
0
400
800
1,200
1,600
2,000
2,400
Q1/19
Q2/19
Q3/19
Q4/19
Q1/20
Q2/20
Q3/20
Q4/20
Q1/21
Q2/21
Q3/21
Q4/21
Q1/22
Q2/22
Q3/22
Q4/22
Q1/23
Exports Value Growth Rate (แกนขวา)
1.5
0.5
1.1
0.0
0.5
1.0
1.5
2.0
2019 (pre-pandemic) 2022 2023
การลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ (Foreign Direct Investment: FDI)
หน่วย : ล้านดอลลาร์สหรัฐ หน่วย : %YOY
-80
-40
0
40
80
120
-200
-100
0
100
200
300
400
Q1/19
Q2/19
Q3/19
Q4/19
Q1/20
Q2/20
Q3/20
Q4/20
Q1/21
Q2/21
Q3/21
Q4/21
Q1/22
Q2/22
Q3/22
Q4/22
Q1/23
FDI Growth Rate (แกนขวา)
• การส่งออกของสปป.ลาวหดตัวเล็กน้อยในไตรมาส 1 ตามราคาสินค้าโภคภัณฑ์ เช่น ทองแดงและไม้ที่ลดลง
แต่คาดว่าจะฟื้นตัวได้ในระยะต่อไปตามเศรษฐกิจคู่ค้าหลักอย่างไทยและจีนที่ขยายตัวดีขึ้นและการส่งออก
ไฟฟ้าที่เป็นปัจจัยสนับสนุน
• การลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศทยอยฟื้นตัวจากฐานต่า โดยมีปัจจัยสนับสนุนจากการเปิดประเทศของจีน
ซึ่งเป็นนักลงทุนหลักและโครงการเชื่อมต่อโลจิสติกส์ในสปป.ลาวไปยังจีนและประเทศอื่น ๆ ในภูมิภาค
อย่างไรก็ตาม SCB EIC มองว่า FDI อาจซบเซากว่าในอดีต เนื่องจากภาครัฐชะลอการลงทุนเพื่อรักษา
เสถียรภาพการคลัง ขณะที่จีนอาจลดการลงทุนในโครงการ Belt and road initiative หากฐานะการคลัง
สปป.ลาวยังเปราะบาง
• จานวนนักท่องเที่ยวต่างชาติในช่วง 4 เดือนแรกฟื้นตัวอย่างมีนัย หลังการเปิดประเทศเต็มรูปแบบ
นักท่องเที่ยวหลักมาจากไทย เวียดนาม และจีน ตามลาดับ ซึ่งมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นต่อเนื่อง โดยเฉพาะ
นักท่องเที่ยวจีนที่ยังมีศักยภาพฟื้นตัวได้อีกมาก
16
อัตราเงินเฟ้ออยู่ในระดับสูงและลดลงช้าเป็นปัจจัยกดดันเศรษฐกิจสปป.ลาว โดยผลสารวจของ World Bank
แสดงให้เห็นผลกระทบด้านลบต่อการบริโภคครัวเรือนและครัวเรือนที่ประกอบธุรกิจ
หมายเหตุ : *กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก
ที่มา : การวิเคราะห์โดย EIC จากข้อมูลของ
หมายเหตุ : *การศึกษาโดย World bank
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ Bank of the Lao PDR และ World Bank. Lao People’s Democratic Republic Economic Monitor: May 2023. Washington, DC: World Bank. 2023.
Lao PDR
ผลกระทบของเงินเฟ้อต่อกาไรครัวเรือนที่ประกอบธุรกิจ*
หน่วย : % ของธุรกิจครัวเรือนที่ตอบแบบสอบถาม
อัตราเงินเฟ้อทั่วไป
หน่วย : %YOY
แนวทางการรับมือปัญหาเงินเฟ้อสูงของครัวเรือน*
หน่วย : % ของครัวเรือนที่ตอบแบบสอบถาม
28.6
0
5
10
15
20
25
30
35
40
45
Jan-21
Apr-21
Jul-21
Oct-21
Jan-22
Apr-22
Jul-22
Oct-22
Jan-23
Apr-23
Others
Transport (fuel) & communications
Housing & utilities
Food & non-alcoholic beverage
Headline Inflation
71.1
65.7
72.3
38.7
22.8
18.4
0
10
20
30
40
50
60
70
80
Use cheaper
food
Reduced food
consumption
Relied on
savings
Sale of assets Loan from
friends/family
Loan from
financial
institutions
0
20
40
60
80
100
All Agriculture Manufacturing Construction Transport,
trade,
hospitality
Other services
Increased Decreased Unchanged
• อัตราเงินเฟ้อทั่วไปขยายตัวชะลอลงในเดือน มิ.ย. แต่ยังคงอยู่ในระดับสูง SCB EIC คาดว่าอัตราเงินเฟ้อจะทยอยชะลอต่อเนื่องแต่ไม่เร็วนัก เนื่องจากเงินกีบยังมีแนวโน้มอ่อนค่า
และกดดันให้ราคาสินค้านาเข้าสูงขึ้น นอกจากนี้ ยังมองว่าผู้บริโภคและธุรกิจคาดการณ์เงินเฟ้อสูงขึ้น อาจนาไปสู่การปรับขึ้นค่าจ้างและการส่งผ่านต้นทุนตามมา
• World Bank สารวจผลกระทบเงินเฟ้อต่อครัวเรือนและครัวเรือนที่ประกอบธุรกิจในสปป.ลาว พบว่าครัวเรือนส่วนใหญ่ปรับตัวรับมือปัญหาเงินเฟ้อสูงผ่านการใช้เงินออมเพื่อการบริโภค การบริโภคอาหารราคาถูกลง
และการลดการบริโภคอาหาร ขณะที่บางส่วนขายสินทรัพย์หรือกู้ยืมเงิน สาหรับผลกระทบต่อครัวเรือนที่ประกอบธุรกิจมีความแตกต่างกัน ขึ้นกับความสามารถในการตั้งราคาและต้นทุนราคาวัตถุดิบ โดยครัวเรือนที่
ประกอบธุรกิจภาคบริการได้รับผลกระทบมากที่สุด
17
นโยบายการเงินมีแนวโน้มตึงตัวต่อเนื่องเพื่อรักษาเสถียรภาพค่าเงินและควบคุมเงินเฟ้อสูง อย่างไรก็ดี เงินกีบ
ยังมีแนวโน้มอ่อนค่าตามเศรษฐกิจที่เปราะบางและการแข็งค่าของดอลลาร์สหรัฐ ส่งผลให้เงินเฟ้อลดลงได้ช้า
หมายเหตุ : *กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก
ที่มา : การวิเคราะห์โดย EIC จากข้อมูลของ
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ CEIC, Bank of Lao PDR และธนาคารแห่งประเทศไทย
Lao PDR
1. นโยบายการเงินมีแนวโน้มตึงตัวต่อเนื่องเพื่อรักษาเสถียรภาพค่าเงินกีบและควบคุมเงินเฟ้อสูง
หน่วย : %
3. ทุนสารองระหว่างประเทศต่อมูลค่านาเข้าอยู่ในระดับต่า ทาให้สปป.ลาวดูแลค่าเงินได้จากัด
หน่วย : ล้านดอลลาร์สหรัฐ หน่วย : เดือน
2. เงินกีบอ่อนค่าต่อเนื่องตามเศรษฐกิจที่เปราะบางและเงินดอลลาร์ที่แข็งค่า
หน่วย : USD/LAK หน่วย : THB/LAK
4. ดุลบัญชีเดินสะพัดกลับมาเกินดุลจากดุลการค้าและบริการ อาจช่วยพยุงค่าเงินได้บ้าง
หน่วย : ล้านดอลลาร์สหรัฐ
0
4
8
12
Jan-19
Apr-19
Jul-19
Oct-19
Jan-20
Apr-20
Jul-20
Oct-20
Jan-21
Apr-21
Jul-21
Oct-21
Jan-22
Apr-22
Jul-22
Oct-22
Jan-23
Apr-23
Policy rate Reserve requirement rate: LAK Reserve requirement rate: USD
1.5
0
1
2
3
0
500
1000
1500
Jan-20
Mar-20
May-20
Jul-20
Sep-20
Nov-20
Jan-21
Mar-21
May-21
Jul-21
Sep-21
Nov-21
Jan-22
Mar-22
May-22
Jul-22
Sep-22
Nov-22
Foreign Reserves Months of Imports (แกนขวา)
ต่ากว่าเกณฑ์มาตรฐาน 3 เดือน
250
350
450
550
650
9,000
11,000
13,000
15,000
17,000
19,000
Jan-21
Mar-21
May-21
Jul-21
Sep-21
Nov-21
Jan-22
Mar-22
May-22
Jul-22
Sep-22
Nov-22
Jan-23
Mar-23
May-23
Jul-23
USD/LAK THB/LAK (แกนขวา)
ธนาคารกลางสหรัฐฯ มีแนวโน้ม
ปรับอัตราดอกเบี้ยนโยบายขึ้นอีก
ส่งผลให้เงินดอลลาร์แข็งค่าขึ้น
-750
-500
-250
0
250
500
Q1/2015 Q1/2016 Q1/2017 Q1/2018 Q1/2019 Q1/2020 Q1/2021 Q1/2022 Q1/2013
Goods Service Primary income Secondary income CA
เงินกีบแข็งค่า
เงินกีบอ่อนค่า
18
สปป.ลาวมีแนวโน้มใช้นโยบายการคลังเข้มงวดต่อไป ประกอบกับเร่งเจรจาปรับโครงสร้างหนี้สาธารณะ
เพื่อแก้ปัญหาความเปราะบางทางการคลัง ส่งผลให้การลงทุนภาครัฐลดลง ซึ่งจะกระทบการเติบโตของเศรษฐกิจได้
หมายเหตุ : *กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก
ที่มา : การวิเคราะห์โดย EIC จากข้อมูลของ
หมายเหตุ : *คาดการณ์โดย IMF **Overall balance คือ ดุลการคลัง Primary balance คือ ดุลการคลังเบื้องต้น (หักรายจ่ายดอกเบี้ย)
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ MF Article IV (Lao PDR, May 2023)
Lao PDR
1. สปป.ลาวเริ่มใช้นโยบายการคลังเข้มงวด ส่งผลให้ดุลการคลังเบื้องต้นเกินดุลเล็กน้อย*
หน่วย : % ของ GDP
2. ภาระดอกเบี้ยสูงจากการก่อหนี้ในอดีต ทาให้สปป.ลาวต้องกู้เพิ่มเพื่อชาระดอกเบี้ย*
หน่วย : % ของ GDP
3. หนี้สาธารณะยังอยู่ในระดับสูง สปป.ลาวจึงต้องเร่งเจรจาปรับโครงสร้างหนี้*
หน่วย : % ของ GDP หน่วย : %YOY
• สปป.ลาวเริ่มใช้นโยบายการคลังเข้มงวดมากขึ้น เช่น ลดรายจ่ายภาครัฐ ขยายฐานภาษี และชะลอการลงทุนใหม่
ในโครงการขนาดใหญ่ (ยกเว้นโครงการที่มีความสาคัญสูง) ทาให้ดุลการคลังเบื้องต้น (ดุลการคลังหักรายจ่าย
ดอกเบี้ย) มีแนวโน้มเกินดุลเล็กน้อย
• ดุลการคลัง (รวมรายจ่ายดอกเบี้ย) ยังขาดดุล ทาให้สปป.ลาวต้องกู้เพิ่มเพื่อชาระดอกเบี้ย
โดยเฉพาะจากแหล่งเงินทุนภายในประเทศ เนื่องจากตลาดนอกประเทศเข้าถึงยาก หนี้สาธารณะจึงจะยัง
อยู่ในระดับสูง
• สปป.ลาวจึงจาเป็นต้องเร่งเจรจาปรับโครงสร้างหนี้ โดยเฉพาะจีนซึ่งเป็นเจ้าหนี้รายใหญ่สุด
เพื่อหาทางออกที่ยั่งยืน และเร่งปรับโครงสร้างรายได้รายจ่ายภาคการคลัง
• นโยบายการคลังตึงตัวขึ้น ทาให้อัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจต่ากว่าในอดีต เนื่องจากแรงส่งจากการลงทุน
ภาครัฐลดลง นอกจากนี้ หากรัฐบาลกู้เงินจากธนาคารอาจทาให้ภาคเอกชนเข้าถึงสินเชื่อในประเทศได้ยากขึ้น
หรือต้นทุนแพงขึ้น (Crowding out) หรือหากรัฐบาลกู้เงินจากธนาคารกลาง อาจเป็นแรงกดดันให้เงินเฟ้อ
เร่งตัวและเงินกีบอ่อนค่าลงอีก
0
5
10
15
20
2019 2020 2021 2022 2023f 2024f 2025f
Gross financing needs
-6
-4
-2
0
2
2019 2020 2021 2022 2023f 2024f 2025f
Primary balance** Interest payments Overall balance**
69.1 76.0
92.4
128.5 123.1 120.1 116.0
0
20
40
60
80
100
120
140
2019 2020 2021 2022 2023f 2024f 2025f
Public and public guaranteed debt
เศรษฐกิจเมียนมาถูกกดดันจากความไม่แน่นอนทางการเมืองต่อเนื่อง ส่งผลให้กิจกรรมทางเศรษฐกิจและตลาดแรงงาน
ยังอ่อนแอแม้จะเริ่มทยอยฟื้นตัวจากฐานต่าอย่างช้า ๆ ขณะที่ชาติตะวันตกยังคงใช้มาตรการคว่าบาตรต่อเนื่องส่งผลให้
การฟื้นตัวของเศรษฐกิจเป็นไปได้อย่างจากัดในระยะปานกลาง
เศรษฐกิจเมียนมา
20
SCB EIC คงประมาณการการขยายตัวของเศรษฐกิจเมียนมาที่ 3.0% ในปีงบประมาณ 2022/2023 สะท้อนกิจกรรมทาง
เศรษฐกิจที่ฟื้นตัวค่อยเป็นค่อยไป ท่ามกลางหลายปัจจัยลบที่กดดันให้เศรษฐกิจเมียนมาขยายตัวต่าในระยะปานกลาง
หมายเหตุ : *กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก
ที่มา : การวิเคราะห์โดย EIC จากข้อมูลของ
หมายเหตุ : ปี 2023f คือปีงบประมาณ 2022/2023
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ Central Statistical Organization และ IMF
อัตราการขยายตัวของเศรษฐกิจเมียนมา
หน่วย : %YOY
ปัจจัยบวก
ปัจจัยลบ
ปัจจัยเสี่ยงที่ควรจับตา
• กิจกรรมทางเศรษฐกิจทยอยกลับมาเป็นปกติมากขึ้นหลังเหตุการณ์
ความไม่สงบทางการเมืองผ่อนลง
• การเปิดประเทศของจีน จะช่วยสนับสนุนการลงทุนโดยตรงจากจีน
และกระตุ้นการค้าชายแดน
• มาตรการคว่าบาตรของชาติตะวันตกจะคงอยู่ต่อไปและอาจเพิ่มขึ้น
กระทบการเข้าถึงแหล่งเงินทุนและความเชื่อมั่นนักลงทุน
• การหยุดชะงักของโครงสร้างพื้นฐานสาคัญ เช่น พลังงานไฟฟ้าและ
การขนส่งที่ถูกกระทบจากความไม่สงบ ส่งผลให้ภาคการผลิตหยุดชะงัก
• ความล่าช้าในการออกใบอนุมัติการค้า กระทบการนาเข้าวัตถุดิบและ
การส่งออก เพิ่มต้นทุนการทาธุรกิจ
• ตลาดแรงงานยังเปราะบางและฟื้นตัวช้า
• เศรษฐกิจโลกชะลอตัว กระทบภาคการส่งออก
• ค่าเงินผันผวน กระทบต่อต้นทุนการทาธุรกิจและอัตราเงินเฟ้อลดลงช้า
• ความเสี่ยงด้านเสถียรภาพการคลัง จากการจัดเก็บรายได้ที่ลดลงและ
ความสามารถในการระดมทุนที่จากัด
• ความไม่แน่นอนทางการเมืองที่อาจรุนแรงขึ้น
5.3 5.5
6.5
7.9 8.2
7.5
6.4
5.8
6.4 6.8
3.2
-5.9
2.0
3.0
-8
-6
-4
-2
0
2
4
6
8
10
2010 2011 2012 2013 2014 2015 2016 2017 2018 2019 2020 2021 2022p 2023f
อัตราการเติบโตเฉลี่ย 6.6%
Myanmar
21
กิจกรรมทางเศรษฐกิจในเมียนมาทยอยฟื้นตัวตามสถานการณ์ความไม่สงบที่ผ่อนลงบ้าง แต่ยังต่ากว่าระดับ
ก่อน COVID-19 และก่อนรัฐประหารอยู่มาก โดยเหตุการณ์ความไม่สงบที่ยังไม่คลี่คลายจะกดดันการฟื้นตัวต่อไป
หมายเหตุ : *กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก
ที่มา : การวิเคราะห์โดย EIC จากข้อมูลของ
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ ACLED (https://acleddata.com/) S&P Global และ CEIC
เหตุการณ์ความไม่สงบในประเทศลดลงบ้าง แต่ยังกดดันกิจกรรมทางเศรษฐกิจต่อเนื่อง ภาคการผลิตเริ่มขยายตัวในปี 2023 หลังซบเซากว่าสามปี แต่ยังมีหลายปัจจัยกดดันการฟื้นตัว
จานวนเหตุการณ์ความรุนแรงในประเทศ
หน่วย : ครั้ง
ดัชนี PMI ภาคการผลิต
หน่วย : ดัชนี (>50 = ขยายตัว, <50 = หดตัว)
1247 1273 1240 1202 1180
1017
1126
955 930
820 895
0
200
400
600
800
1000
1200
1400
Jul-22 Aug-22 Sep-22 Oct-22 Nov-22 Dec-22 Jan-23 Feb-23 Mar-23 Apr-23 May-23
25
30
35
40
45
50
55
60
Jan-20
Mar-20
May-20
Jul-20
Sep-20
Nov-20
Jan-21
Mar-21
May-21
Jul-21
Sep-21
Nov-21
Jan-22
Mar-22
May-22
Jul-22
Sep-22
Nov-22
Jan-23
Mar-23
May-23
COVID-19
Wave 1 Wave 2 Political
Crisis Wave 3
ขยายตัว
หดตัว
จานวนผู้โดยสารทางอากาศขาเข้าสนามบินย่างกุ้ง
หน่วย : ราย
0
50,000
100,000
150,000
200,000
250,000
Jan-19
Apr-19
Jul-19
Oct-19
Jan-20
Apr-20
Jul-20
Oct-20
Jan-21
Apr-21
Jul-21
Oct-21
Jan-22
Apr-22
Jul-22
Oct-22
Jan-23
Apr-23
International Domestic
ผลสารวจ PMI ภาคการผลิตเดือน พ.ค. ชี้ให้เห็นว่า :
1. อุปสงค์ต่อสินค้าขยายตัวต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 5 ส่งผลให้การผลิตขยายตัวต่อเนื่องเช่นกัน
2. ธุรกิจยังเผชิญปัญหาการขาดแคลนวัตถุดิบ แรงงาน และพลังงานไฟฟ้า โดยมีสาเหตุจาก
การขนส่งที่หยุดชะงัก ความล่าช้าในการออกใบอนุมัตินาเข้าสินค้า จานวนแรงงาน
ในตลาดแรงงานที่ยังไม่กลับมาเต็มที่ และการลงทุนในโรงงานผลิตไฟฟ้าที่ลดลง
3. กาลังการผลิตของธุรกิจไม่เพียงพอต่อความต้องการสินค้า ส่งผลให้ธุรกิจต้องระบายสินค้า
คงคลังเพิ่ม
4. แรงกดดันเงินเฟ้อสูง ตามการอ่อนค่าของเงินจัตและการขาดแคลนวัตถุดิบ
5. ธุรกิจมีมุมมองในอนาคตที่ดีขึ้น ความเชื่อมั่นธุรกิจแตะระดับสูงสุดตั้งแต่เดือน ม.ค. 2021
Myanmar
22
ภาคครัวเรือนเมียนมามีความเปราะบางสูงขึ้นหลังวิกฤต COVID-19 และรัฐประหาร โดยผลสารวจจาก World Bank
ชี้ให้เห็นถึงรายได้และการจ้างงานที่ลดลง ซึ่งเป็นแผลเป็นเศรษฐกิจฉุดรั้งการบริโภคในระยะต่อไป
หมายเหตุ : *กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก
ที่มา : การวิเคราะห์โดย EIC จากข้อมูลของ
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ Sinha Roy, Sutirtha; Demarchi, Giorgia; Rhoads, Elizabeth. 2023. A Growing Crisis: Work, Workers, and Wellbeing in Myanmar? Washington, DC: World Bank.
สัดส่วนแรงงานที่ทางานชั่วคราว (Casual work)
หน่วย : %
อัตราการจ้างงานและการมีส่วนร่วมในตลาดแรงงาน
หน่วย : %
สัดส่วนแรงงานที่ได้รับค่าจ้างประจา
หน่วย : %
64.2
61.2 60.3
54.5
64.7
62.0
60.5
58.6
40
45
50
55
60
65
70
2015 2017 2019 2022
Employment rate Labor force participation rate
35.3 36.8 35.1
28.9
0
10
20
30
40
50
60
70
80
90
100
2015 2017 2019 2022
Wage employment Non-wage employment
4.5
9.4
10.7
22.3
9.3
7.7
14.1
25.7
0
5
10
15
20
25
30
Male-Paid Male-Unpaid Female-Paid Female-Unpaid
2017 2022
• ตลาดแรงงานเมียนมาอ่อนแอมากขึ้นตามเศรษฐกิจที่ซบเซา โดยวิกฤต COVID-19 และรัฐประหารส่งผลให้แรงงานจานวนหนึ่งตกงาน ขณะที่แรงงานบางกลุ่มเดินทางกลับภูมิลาเนาในช่วงที่เกิดสถานการณ์ความรุนแรง
และยังไม่ได้กลับเข้าสู่ตลาดแรงงาน ซึ่งอาจเป็นผลจากหลายปัจจัย อาทิ ความกังวลเรื่องความปลอดภัย ค่าใช้จ่ายในการเดินทางที่สูงขึ้นตามราคาน้ามัน หรือได้งานใหม่ทดแทน เช่น การช่วยเหลือครอบครัวหรือทา
เกษตรกรรม ซึ่งสอดคล้องกับการสารวจธุรกิจที่ยังพบการขาดแคลนแรงงาน โดยเฉพาะภาคการผลิต
• สัดส่วนแรงงานที่ได้รับค่าจ้างประจาลดลง ขณะที่สัดส่วนการทางานชั่วคราว (Casual work) เพิ่มขึ้น อาจทาให้รายได้ลดลงและมีความไม่แน่นอนขึ้น ซึ่งจะกดดันการใช้จ่ายของผู้บริโภค
Myanmar
23
เมียนมามีแนวโน้มใช้มาตรการรักษาเสถียรภาพเงินจัตเพิ่มเติม โดยอาจเร่ง
สนับสนุนการใช้สกุลเงินประเทศคู่ค้าในการค้าระหว่างประเทศเช่น ล่าสุด
ได้บังคับให้ผู้ประกอบการใช้เงินหยวนค้าขายกับจีนและอาจขยายมาตรการ
ไปสกุลอื่น เช่น บาทไทยและรูปีอินเดีย แม้จะยังไม่ถึงขั้นบังคับใช้ในปัจจุบัน
นอกจากนี้ เมียนมาจะยังบังคับให้ผู้ส่งออกแลกรายได้จากการส่งออก65%
กลับเป็นจัตและบังคับให้ธุรกิจแลกเงินทาตามข้อบังคับที่กาหนด
สหรัฐฯ คว่าบาตรกระทรวงกลาโหมเมียนมาและธนาคารแห่งรัฐสองราย
เพื่อจากัดความสามารถของเมียนมาในการซื้อยุทโธปกรณ์ โดยเฉพาะจาก
รัสเซีย และการเข้าถึงตลาดและสกุลเงินต่างประเทศ ซึ่งเป็นช่องทางการ
หารายได้เข้ารัฐ ทั้งนี้ SCB EIC มองว่าผลกระทบต่อธุรกิจจะมีจากัด เพราะ
ธนาคารทั้งสองแห่งรองรับธุรกรรมระหว่างรัฐมากกว่า (Gov. to Gov.)
ประเทศ ASEAN ยังเห็นไม่ตรงกันในหนทางการแก้ปัญหาวิกฤตในเมียนมา*
ในมุมมองของไทยต้องเร่งเจรจากับรัฐบาลทหารเมียนมาเพื่อหาทางออก
ขณะที่บางประเทศ เช่น อินโดนีเซียและสิงคโปร์ไม่อยากให้ความชอบธรรม
กับรัฐบาลทหารเมียนมา ซึ่งทาให้ ASEAN ยังไม่สามารถหาจุดยืนเดียวกัน
ในการแก้ปัญหาเมียนมาอย่างยั่งยืน ทั้งนี้ต้องจับตานโยบายของรัฐบาล
ใหม่ของไทยว่าจะมีทิศทางเรื่องนี้อย่างไร
ชาติตะวันตกใช้มาตรการคว่าบาตรเมียนมาต่อเนื่องกดดันการค้าและการลงทุน ส่งผลให้เงินจัตอ่อนค่าต่อเนื่อง
ทั้งนี้เมียนมาจะได้ประโยชน์จากการเปิดประเทศของจีนซึ่งคาดว่าจะมีบทบาทมากขึ้นหลังชาติตะวันตกถอนตัว
หมายเหตุ : *กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก
ที่มา : การวิเคราะห์โดย EIC จากข้อมูลของ
หมายเหตุ : *ASEAN ได้ตกลงฉันทมิติ 5 ข้อในเดือน เม.ย. ปี 2021 เพื่อหาทางยุติความรุนแรงและสนับสนุนการเจรจา แต่ยังไม่มีความคืบหน้าชัดเจน
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ CEIC, Central Bank of Myanmar, US Department of Treasury และสานักข่าวต่างประเทศ
มูลค่าการส่งออกในช่วง 5 เดือนแรกของแต่ละปี
หน่วย : ล้านดอลลาร์สหรัฐ
อัตราแลกเปลี่ยน
หน่วย : USD/MMK
มูลค่า FDI ที่ได้รับการอนุมัติคงค้างในช่วง 5 เดือนแรกของแต่ละปี
หน่วย : ล้านดอลลาร์สหรัฐ
มูลค่าการทาธุรกรรมด้วยสกุลเงินดอลลาร์สหรัฐ
หน่วย : ล้านดอลลาร์สหรัฐ (30-day moving avg.)
แนวโน้มนโยบายควบคุมค่าเงิน
มาตรการคว่าบาตรล่าสุด (เดือน มิ.ย. 2023)
มุมมองไทยและ ASEAN ต่อการแก้ปัญหาในเมียนมา
1,200
1,700
2,200
2,700
Jan-21
Apr-21
Jul-21
Oct-21
Jan-22
Apr-22
Jul-22
Oct-22
Jan-23
Apr-23
Bank-customer transactions rate (30-day moving avg.)
Central Bank reference rate
0
20
40
60
80
Jan-19
May-19
Sep-19
Jan-20
May-20
Sep-20
Jan-21
May-21
Sep-21
Jan-22
May-22
Sep-22
Jan-23
May-23
Bank-customer transactions Interbank transactions
7,689 7,241
6,467 6,444 6,052
0
2,000
4,000
6,000
8,000
2019 2020 2021 2022 2023
Border Seas
0
20,000
40,000
60,000
80,000
100,000
2019 2020 2021 2022 2023
China Hong Kong
Thailand Singapore
Others
แม้การส่งออกเมียนมาหดตัว แต่ยัง
มีแรงส่งจากจีน แสดงให้เห็นจาก
มูลค่าส่งออกชายแดนที่เพิ่มขึ้น
มูลค่า Approved FDI ซบเซา
ตั้งแต่เกิดรัฐประหารในปี 2021
เงินจัตอ่อนค่าจากปริมาณ USD ที่ไม่เพียงพอต่อความ
ต้องการหลังถูกคว่าบาตรและการค้าการลงทุนซบเซา
การทาธุรกรรมด้วย USD ยังซบเซา ตามเศรษฐกิจ
ที่อ่อนแอและปริมาณเงินสดหมุนเวียนไม่เพียงพอ
เงินจัตอ่อนค่า
Myanmar
เศรษฐกิจกิจเวียดนามมีแนวโน้มขยายตัวซบเซาต่ากว่าคาดการณ์ก่อนหน้า จากการส่งออกและการลงทุนโดยตรงจาก
ต่างประเทศที่อ่อนแอ ประกอบกับความเสี่ยงอื่น ๆ รุมเร้า อาทิ การขาดแคลนสภาพคล่องจากภาวะการเงินตึงตัว
ส่งผลให้ภาคอสังหาฯ ชะลอตัวรุนแรง ความไม่แน่นอนทางการเมือง และพลังงานไฟฟ้าขาดแคลน
เศรษฐกิจเวียดนาม
25
SCB EIC ปรับลดประมาณการเศรษฐกิจเวียดนามเหลือ 5.0% (เดิมคาด 6.2%) จากภาคการส่งออก
ภาคอุตสาหกรรม และภาคอสังหาริมทรัพย์ที่ซบเซา ประกอบกับมีหลายปัจจัยเสี่ยงกดดันเศรษฐกิจในปีนี้
หมายเหตุ : *กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก
ที่มา : การวิเคราะห์โดย EIC จากข้อมูลของ
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ CEIC และ General Statistics Office
อัตราการขยายตัวของเศรษฐกิจเวียดนาม
หน่วย : %YOY
ปัจจัยบวก
ปัจจัยลบ
ปัจจัยเสี่ยงที่ควรจับตา
• การเปิดประเทศของจีน ช่วยกระตุ้นภาคการท่องเที่ยวเวียดนาม
• การบริโภคภายในประเทศ ขยายตัวต่อเนื่องตามตลาดแรงงานฟื้นตัว
• การย้ายฐานการผลิตมาเวียดนามและความสนใจจากนักลงทุนสูง
ด้วยความได้เปรียบด้านค่าแรง ที่ตั้ง และสนธิสัญญาการค้าเสรีต่าง ๆ
• เศรษฐกิจโลกชะลอตัว กดดันภาคการส่งออกและ FDI
• ปัญหาการขาดแคลนสภาพคล่อง หลังภาวะการเงินตึงตัวขึ้น กระทบ
ความเชื่อมั่นภาคธุรกิจและการระดมทุนเพื่อชาระหนี้และลงทุน
• การชะลอตัวของภาคอสังหาฯ ทั้งด้านการก่อสร้างและอุปสงค์
• ระดับหนี้เสียสูงขึ้น บางกลุ่มธุรกิจเผชิญข้อจากัดในการชาระหนี้
ซึ่งซ้าเติมให้ธนาคารปล่อยสินเชื่อลดลงและอาจกระทบต่อการลงทุน
ภาคเอกชนและเสถียรภาพระบบสถาบันการเงิน
• การขาดแคลนพลังงานไฟฟ้า กระทบกาลังการผลิตภาคอุตสาหกรรม
• ความตึงเครียดทางภูมิรัฐศาสตร์ในพื้นที่ทะเลจีนใต้
6.4
5.5 5.6
6.4 7.0 6.7 6.9 7.5 7.4
2.9 2.6
8.0
5.0
0
2
4
6
8
10
2011 2012 2013 2014 2015 2016 2017 2018 2019 2020 2021 2022 2023f
7.1 7.2 7.6 7.5
3.2
0.3
3.0
4.7 4.9
6.6
-6.0
5.2 5.1
7.8
13.7
5.9
3.3 4.1
-8
-4
0
4
8
12
Q1/19 Q2/19 Q3/19 Q4/19 Q1/20 Q2/20 Q3/20 Q4/20 Q1/21 Q2/21 Q3/21 Q4/21 Q1/22 Q2/22 Q3/22 Q4/22 Q1/23 Q2/23
Agriculture Industry Services Tax less subsidies
Vietnam
26
อุปสงค์จากต่างประเทศมีแนวโน้มซบเซาในปีนี้ตามทิศทางเศรษฐกิจโลก โดยเฉพาะการค้าและการลงทุน
ในอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ที่เวียดนามพึ่งพาสูง ขณะที่ภาคการท่องเที่ยวมีแนวโน้มฟื้นตัวต่อเนื่อง
หมายเหตุ : *กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก
ที่มา : การวิเคราะห์โดย EIC จากข้อมูลของ
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ CEIC General Statistics Office Foreign Investment Agency และ Vietnam National Administration of Tourism
จานวนนักท่องเที่ยวต่างชาติ
หน่วย : ล้านคน
การส่งออกสินค้า
หน่วย : %YOY
-25
0
25
50
Electronics Machine & parts Textiles & footwear Wood products Others
0.0
0.5
1.0
1.5
2.0
Jan-19
Apr-19
Jul-19
Oct-19
Jan-20
Apr-20
Jul-20
Oct-20
Jan-21
Apr-21
Jul-21
Oct-21
Jan-22
Apr-22
Jul-22
Oct-22
Jan-23
Apr-23
China Asia ex. China Americas Europe Oceania Others
การลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ
หน่วย : %YOY (ค่าเฉลี่ยเคลื่อนที่ 6 เดือน)
-30
-15
0
15
30
Feb-22
Mar-22
Apr-22
May-22
Jun-22
Jul-22
Aug-22
Sep-22
Oct-22
Nov-22
Dec-22
Jan-23
Feb-23
Mar-23
Apr-23
May-23
Approved FDI Disbursed FDI
• การส่งออกเวียดนามหดตัวต่อเนื่องในช่วงครึ่งแรกของปี จากอุปสงค์ประเทศคู่ค้าที่ชะลอตัว
ตามเศรษฐกิจโลก ขณะที่การเปิดประเทศของจีนไม่ได้ส่งผลบวกต่อการส่งออกเวียดนามมากนัก
เนื่องจากสินค้าส่งออกเวียดนามส่วนใหญ่เป็นวัตถุดิบในการผลิต ซึ่งภาคการผลิตจีนยังซบเซา
ในครึ่งแรกของปีนี้ ทั้งนี้ SCB EIC มองว่าการส่งออกจะทยอยฟื้นตัวได้ในช่วงครึ่งหลังของปี
• การลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศถูกกดดันจากกาไรบริษัทข้ามชาติที่ลดลงและความไม่
แน่นอนที่สูงขึ้น ทั้งจากเศรษฐกิจโลกและนโยบายภายในประเทศช่วงปราบคอรัปชั่นและ
เปลี่ยนประธานาธิบดี
• ภาคการท่องเที่ยวมีแนวโน้มฟื้นตัวต่อเนื่องในปีนี้ แรงสนับสนุนสาคัญจากนักท่องเที่ยวจีน
ซึ่งคิดเป็นประมาณ 30% ของนักท่องเที่ยวต่างชาติทั้งหมดก่อนการระบาด COVID-19
Vietnam
27
การบริโภคภายในประเทศขยายตัวได้ตามรายได้และการจ้างงานที่ฟื้นตัว อย่างไรก็ตาม เริ่มมีสัญญาณ
ความเปราะบางในการจ้างงานภาคอุตสาหกรรม ซึ่งอาจทาให้อัตราการว่างงานปรับสูงขึ้นในระยะต่อไป
หมายเหตุ : *กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก
ที่มา : การวิเคราะห์โดย EIC จากข้อมูลของ
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ General Statistics Office
ดัชนีผลผลิตภาคอุตสาหกรรมและการจ้างงานในภาคอุตสาหกรรม
หน่วย : %YOY (ค่าเฉลี่ยเคลื่อนที่ 3 เดือน)
ยอดค้าปลีก
หน่วย : ล้านล้านดอง หน่วย : %YOY
อัตราการว่างงานและรายได้เฉลี่ยต่อเดือน
หน่วย : % หน่วย : พันดอง
-10
0
10
20
Mar-19
Jul-19
Nov-19
Mar-20
Jul-20
Nov-20
Mar-21
Jul-21
Nov-21
Mar-22
Jul-22
Nov-22
Mar-23
Industrial Production Labor Employed Index
-30
-15
0
15
30
45
60
0
100
200
300
400
500
600
Jan-19
Jul-19
Jan-20
Jul-20
Jan-21
Jul-21
Jan-22
Jul-22
Jan-23
Retail Sales Value Growth Rate (RHS)
2.25
1.94
7,903
5,000
5,500
6,000
6,500
7,000
7,500
8,000
8,500
1
1.5
2
2.5
3
3.5
4
4.5
5
Q1/20 Q3/20 Q1/21 Q3/21 Q1/22 Q3/22 Q1/23
Unemployment Rate
Underemployment Rate
Avg. Monthly Earning (RHS)
ยอดค้าปลีกยังคงขยายตัว
แข็งแกร่ง โดยเฉพาะการ
ใช้จ่ายท่องเที่ยว
การจ้างงานและรายได้แรงงานฟื้นตัวช่วย
สนับสนุนการใช้จ่ายผู้บริโภค
ภาคอุตสาหกรรมส่งสัญญาณเปราะบางมากขึ้น
อาจนาไปสู่การเลิกจ้างในระยะต่อไป
ปัญหาการขาดแคลนไฟฟ้าเป็นความเสี่ยงต่อภาคอุตสาหกรรมเวียดนาม
โดยมองว่าเป็นปัจจัยชั่วคราวที่เกิดจากความต้องการไฟฟ้าที่สูงขึ้นมากในช่วง
อากาศร้อน ขณะที่ภัยแล้งทาให้โรงไฟฟ้าพลังงานน้าผลิตไฟได้น้อยลง ทั้งนี้หาก
สถานการณ์ยืดเยื้ออาจทาให้การผลิตภาคอุตสาหกรรมลดลงได้ชั่วคราว
และเป็นปัจจัยกดดันซ้าเติมการจ้างงานในภาคอุตสาหกรรม
Vietnam
28
ภาวะการเงินเวียดนามยังตึงตัวสูง แม้จะผ่อนคลายลงบ้างหลังธนาคารกลางเริ่มปรับลดอัตราดอกเบี้ยนโยบาย
อัตราดอกเบี้ยธนาคารที่สูงขึ้นส่งผลให้ธุรกิจเผชิญปัญหาขาดสภาพคล่อง โดยเฉพาะภาคอสังหาฯ
หมายเหตุ : *กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก
ที่มา : การวิเคราะห์โดย EIC จากข้อมูลของ
หมายเหตุ : *อัตราดอกเบี้ยเงินฝากบัญชีออมทรัพย์ 12 เดือนสาหรับบุคคลทั่วไปของธนาคาร Vietcombank
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ State Bank of Vietnam และ Vietnam Bond Market Association
อัตราการขยายตัวของสินเชื่อและเงินฝากคงค้าง
หน่วย : %YOY
อัตราดอกเบี้ยนโยบายและอัตราดอกเบี้ยเงินฝาก
หน่วย : %
3.0
4.5
7.1
0
2
4
6
8
Jan-15
Jun-15
Nov-15
Apr-16
Sep-16
Feb-17
Jul-17
Dec-17
May-18
Oct-18
Mar-19
Aug-19
Jan-20
Jun-20
Nov-20
Apr-21
Sep-21
Feb-22
Jul-22
Dec-22
May-23
Discount rate (policy) Refinancing rate (policy) Commercial bank deposit rate*
-10
0
10
20
30
Jan-19
Apr-19
Jul-19
Oct-19
Jan-20
Apr-20
Jul-20
Oct-20
Jan-21
Apr-21
Jul-21
Oct-21
Jan-22
Apr-22
Jul-22
Oct-22
Jan-23
Apr-23
Credit outstanding Deposits of economic entities (Firms)
Savings deposits (Individuals)
0
20,000
40,000
60,000
80,000
Jan Feb Mar Apr May Jun Jul Aug Sep Oct Nov Dec
2023 2022 2021
มูลค่าการออกหุ้นกู้เอกชนใหม่
หน่วย : พันล้านดอง
• ภาวะการเงินเวียดนามตึงตัวขึ้น จากการปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบายอย่างรวดเร็วปลายปีก่อน การออกมาตรการเพิ่มความเข้มงวดกฎระเบียบการออกหุ้นกู้ และการจับกุมประธานบริษัทอสังหาฯ ในข้อห้าฉ้อโกง ซึ่งทาให้ธุรกิจ
และธนาคารเผชิญต้นทุนการระดมทุนที่สูงขึ้น ขณะที่ความเชื่อมั่นนักลงทุนลดลง แม้อัตราดอกเบี้ยนโยบายจะปรับลดลงมาแล้ว แต่ภาวะการเงินยังค่อนข้างตึงตัวต่อ
• สินเชื่อขยายตัวชะลอตัวลง ตามอัตราดอกเบี้ยและความเสี่ยงการผิดนัดชาระหนี้ที่สูงขึ้น ซึ่งส่งผลให้อุปสงค์สินเชื่อลดลงและธนาคารเพิ่มความเข้มงวดในการอนุมัติสินเชื่อ
• มูลค่าเงินฝากบัญชีออมทรัพย์เพิ่มสูงขึ้น ตามอัตราดอกเบี้ยเงินฝากและการปิดรับความเสี่ยงของนักลงทุน สวนทางกับเงินฝากของธุรกิจที่ลดลงหลังธุรกิจถอนเงินออกในช่วงที่ระดมทุนได้ยาก
• มูลค่าการออกหุ้นกู้ใหม่ซบเซาตั้งแต่เดือน ต.ค. 2022 สะท้อนความเชื่อมั่นนักลงทุนที่ยังไม่กลับมา ซึ่งกระทบภาคอสังหาฯ มากเนื่องจากพึ่งพาตลาดทุนและหุ้นกู้สูง
Vietnam
อัตราดอกเบี้ยเงินฝากยังอยู่ในระดับสูงและลดลงช้ากว่าอัตราดอกเบี้ย
นโยบาย เนื่องจากธนาคารเวียดนามจาเป็นต้องดึงดูดเงินฝากเพื่อบริหาร
สภาพคล่องตามต้นทุนการระดมทุนที่สูงขึ้น
SCB EIC คาดเศรษฐกิจ CLMV ขยายตัวต่อเนื่องจากแรงส่งการบริโภคและภาคการท่องเที่ยว แม้มีปัจจัยกดดันจากเศรษฐกิจโลกชะลอตัว และความเสี่ยงเฉพาะประเทศ
SCB EIC คาดเศรษฐกิจ CLMV ขยายตัวต่อเนื่องจากแรงส่งการบริโภคและภาคการท่องเที่ยว แม้มีปัจจัยกดดันจากเศรษฐกิจโลกชะลอตัว และความเสี่ยงเฉพาะประเทศ
SCB EIC คาดเศรษฐกิจ CLMV ขยายตัวต่อเนื่องจากแรงส่งการบริโภคและภาคการท่องเที่ยว แม้มีปัจจัยกดดันจากเศรษฐกิจโลกชะลอตัว และความเสี่ยงเฉพาะประเทศ
SCB EIC คาดเศรษฐกิจ CLMV ขยายตัวต่อเนื่องจากแรงส่งการบริโภคและภาคการท่องเที่ยว แม้มีปัจจัยกดดันจากเศรษฐกิจโลกชะลอตัว และความเสี่ยงเฉพาะประเทศ

More Related Content

More from SCBEICSCB

ส่องพฤติกรรมการใช้จ่ายผู้มีสิทธิ จากนโยบาย Digital wallet
ส่องพฤติกรรมการใช้จ่ายผู้มีสิทธิ จากนโยบาย Digital walletส่องพฤติกรรมการใช้จ่ายผู้มีสิทธิ จากนโยบาย Digital wallet
ส่องพฤติกรรมการใช้จ่ายผู้มีสิทธิ จากนโยบาย Digital walletSCBEICSCB
 
Health and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdf
Health and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdfHealth and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdf
Health and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdfSCBEICSCB
 
Health and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdf
Health and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdfHealth and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdf
Health and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdfSCBEICSCB
 
CLMV-Outlook-March-2024-ENG-20240327.pdf
CLMV-Outlook-March-2024-ENG-20240327.pdfCLMV-Outlook-March-2024-ENG-20240327.pdf
CLMV-Outlook-March-2024-ENG-20240327.pdfSCBEICSCB
 
Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...
Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...
Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...SCBEICSCB
 
Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...
Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...
Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...SCBEICSCB
 
SCB EIC ประเมินอัตราดอกเบี้ยนโยบายลดลงในปีนี้ ตาม Momentum เศรษฐกิจไทยและเงิน...
SCB EIC ประเมินอัตราดอกเบี้ยนโยบายลดลงในปีนี้ ตาม Momentum เศรษฐกิจไทยและเงิน...SCB EIC ประเมินอัตราดอกเบี้ยนโยบายลดลงในปีนี้ ตาม Momentum เศรษฐกิจไทยและเงิน...
SCB EIC ประเมินอัตราดอกเบี้ยนโยบายลดลงในปีนี้ ตาม Momentum เศรษฐกิจไทยและเงิน...SCBEICSCB
 
SCB EIC Monthly Jan 24
SCB EIC Monthly Jan 24SCB EIC Monthly Jan 24
SCB EIC Monthly Jan 24SCBEICSCB
 
สำรวจเทรนด์สุขภาพเวลเนสชาวไทยด้านดูแล รักษา และป้องกัน…ธุรกิจดาวรุ่งที่กำลังเ...
สำรวจเทรนด์สุขภาพเวลเนสชาวไทยด้านดูแล รักษา และป้องกัน…ธุรกิจดาวรุ่งที่กำลังเ...สำรวจเทรนด์สุขภาพเวลเนสชาวไทยด้านดูแล รักษา และป้องกัน…ธุรกิจดาวรุ่งที่กำลังเ...
สำรวจเทรนด์สุขภาพเวลเนสชาวไทยด้านดูแล รักษา และป้องกัน…ธุรกิจดาวรุ่งที่กำลังเ...SCBEICSCB
 
เมื่อคนไทย (ส่วนใหญ่) ยังไม่พร้อม…การเตรียมความพร้อมจึงจำเป็น
เมื่อคนไทย (ส่วนใหญ่) ยังไม่พร้อม…การเตรียมความพร้อมจึงจำเป็นเมื่อคนไทย (ส่วนใหญ่) ยังไม่พร้อม…การเตรียมความพร้อมจึงจำเป็น
เมื่อคนไทย (ส่วนใหญ่) ยังไม่พร้อม…การเตรียมความพร้อมจึงจำเป็นSCBEICSCB
 
SCB EIC คาดอุตสาหกรรมก่อสร้างปี 2024 ขยายตัว 2%YOY แตะ 1.4 ล้านล้านบาท แนะผู้...
SCB EIC คาดอุตสาหกรรมก่อสร้างปี 2024 ขยายตัว 2%YOY แตะ 1.4 ล้านล้านบาท แนะผู้...SCB EIC คาดอุตสาหกรรมก่อสร้างปี 2024 ขยายตัว 2%YOY แตะ 1.4 ล้านล้านบาท แนะผู้...
SCB EIC คาดอุตสาหกรรมก่อสร้างปี 2024 ขยายตัว 2%YOY แตะ 1.4 ล้านล้านบาท แนะผู้...SCBEICSCB
 
In focus-Health and wellness survey-2023.pdf
In focus-Health and wellness survey-2023.pdfIn focus-Health and wellness survey-2023.pdf
In focus-Health and wellness survey-2023.pdfSCBEICSCB
 
Outlook ไตรมาส 4/2023
Outlook ไตรมาส 4/2023Outlook ไตรมาส 4/2023
Outlook ไตรมาส 4/2023SCBEICSCB
 
อุตสาหกรรมน้ำตาลในปี 2024 ยังขยายตัวได้ แม้จะเผชิญปัญหาภัยแล้งรุนแรง
อุตสาหกรรมน้ำตาลในปี 2024 ยังขยายตัวได้ แม้จะเผชิญปัญหาภัยแล้งรุนแรงอุตสาหกรรมน้ำตาลในปี 2024 ยังขยายตัวได้ แม้จะเผชิญปัญหาภัยแล้งรุนแรง
อุตสาหกรรมน้ำตาลในปี 2024 ยังขยายตัวได้ แม้จะเผชิญปัญหาภัยแล้งรุนแรงSCBEICSCB
 
SCB-EIC-Monthly-NOV-20231123.pdf
SCB-EIC-Monthly-NOV-20231123.pdfSCB-EIC-Monthly-NOV-20231123.pdf
SCB-EIC-Monthly-NOV-20231123.pdfSCBEICSCB
 
SCB EIC มองตลาดพื้นที่สำนักงานให้เช่าและตลาดพื้นที่ค้าปลีกให้เช่าปี 2024 ยังม...
SCB EIC มองตลาดพื้นที่สำนักงานให้เช่าและตลาดพื้นที่ค้าปลีกให้เช่าปี 2024 ยังม...SCB EIC มองตลาดพื้นที่สำนักงานให้เช่าและตลาดพื้นที่ค้าปลีกให้เช่าปี 2024 ยังม...
SCB EIC มองตลาดพื้นที่สำนักงานให้เช่าและตลาดพื้นที่ค้าปลีกให้เช่าปี 2024 ยังม...SCBEICSCB
 
โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ และพลังงานลมปี 2024 เติบโตตามกระแสการใช้ไฟฟ้าสีเขีย...
โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ และพลังงานลมปี 2024 เติบโตตามกระแสการใช้ไฟฟ้าสีเขีย...โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ และพลังงานลมปี 2024 เติบโตตามกระแสการใช้ไฟฟ้าสีเขีย...
โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ และพลังงานลมปี 2024 เติบโตตามกระแสการใช้ไฟฟ้าสีเขีย...SCBEICSCB
 
อุตสาหกรรมอาหารทะเลมีแนวโน้มฟื้นตัวดีขึ้น ท่ามกลางแนวโน้มการฟื้นตัวที่เปราะบา...
อุตสาหกรรมอาหารทะเลมีแนวโน้มฟื้นตัวดีขึ้น ท่ามกลางแนวโน้มการฟื้นตัวที่เปราะบา...อุตสาหกรรมอาหารทะเลมีแนวโน้มฟื้นตัวดีขึ้น ท่ามกลางแนวโน้มการฟื้นตัวที่เปราะบา...
อุตสาหกรรมอาหารทะเลมีแนวโน้มฟื้นตัวดีขึ้น ท่ามกลางแนวโน้มการฟื้นตัวที่เปราะบา...SCBEICSCB
 
Industry_Insight_Restaurant_20231107.pdf
Industry_Insight_Restaurant_20231107.pdfIndustry_Insight_Restaurant_20231107.pdf
Industry_Insight_Restaurant_20231107.pdfSCBEICSCB
 
SCB EIC Industry insight-Power overview-20231027.pdf
SCB EIC Industry insight-Power overview-20231027.pdfSCB EIC Industry insight-Power overview-20231027.pdf
SCB EIC Industry insight-Power overview-20231027.pdfSCBEICSCB
 

More from SCBEICSCB (20)

ส่องพฤติกรรมการใช้จ่ายผู้มีสิทธิ จากนโยบาย Digital wallet
ส่องพฤติกรรมการใช้จ่ายผู้มีสิทธิ จากนโยบาย Digital walletส่องพฤติกรรมการใช้จ่ายผู้มีสิทธิ จากนโยบาย Digital wallet
ส่องพฤติกรรมการใช้จ่ายผู้มีสิทธิ จากนโยบาย Digital wallet
 
Health and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdf
Health and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdfHealth and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdf
Health and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdf
 
Health and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdf
Health and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdfHealth and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdf
Health and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdf
 
CLMV-Outlook-March-2024-ENG-20240327.pdf
CLMV-Outlook-March-2024-ENG-20240327.pdfCLMV-Outlook-March-2024-ENG-20240327.pdf
CLMV-Outlook-March-2024-ENG-20240327.pdf
 
Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...
Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...
Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...
 
Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...
Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...
Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...
 
SCB EIC ประเมินอัตราดอกเบี้ยนโยบายลดลงในปีนี้ ตาม Momentum เศรษฐกิจไทยและเงิน...
SCB EIC ประเมินอัตราดอกเบี้ยนโยบายลดลงในปีนี้ ตาม Momentum เศรษฐกิจไทยและเงิน...SCB EIC ประเมินอัตราดอกเบี้ยนโยบายลดลงในปีนี้ ตาม Momentum เศรษฐกิจไทยและเงิน...
SCB EIC ประเมินอัตราดอกเบี้ยนโยบายลดลงในปีนี้ ตาม Momentum เศรษฐกิจไทยและเงิน...
 
SCB EIC Monthly Jan 24
SCB EIC Monthly Jan 24SCB EIC Monthly Jan 24
SCB EIC Monthly Jan 24
 
สำรวจเทรนด์สุขภาพเวลเนสชาวไทยด้านดูแล รักษา และป้องกัน…ธุรกิจดาวรุ่งที่กำลังเ...
สำรวจเทรนด์สุขภาพเวลเนสชาวไทยด้านดูแล รักษา และป้องกัน…ธุรกิจดาวรุ่งที่กำลังเ...สำรวจเทรนด์สุขภาพเวลเนสชาวไทยด้านดูแล รักษา และป้องกัน…ธุรกิจดาวรุ่งที่กำลังเ...
สำรวจเทรนด์สุขภาพเวลเนสชาวไทยด้านดูแล รักษา และป้องกัน…ธุรกิจดาวรุ่งที่กำลังเ...
 
เมื่อคนไทย (ส่วนใหญ่) ยังไม่พร้อม…การเตรียมความพร้อมจึงจำเป็น
เมื่อคนไทย (ส่วนใหญ่) ยังไม่พร้อม…การเตรียมความพร้อมจึงจำเป็นเมื่อคนไทย (ส่วนใหญ่) ยังไม่พร้อม…การเตรียมความพร้อมจึงจำเป็น
เมื่อคนไทย (ส่วนใหญ่) ยังไม่พร้อม…การเตรียมความพร้อมจึงจำเป็น
 
SCB EIC คาดอุตสาหกรรมก่อสร้างปี 2024 ขยายตัว 2%YOY แตะ 1.4 ล้านล้านบาท แนะผู้...
SCB EIC คาดอุตสาหกรรมก่อสร้างปี 2024 ขยายตัว 2%YOY แตะ 1.4 ล้านล้านบาท แนะผู้...SCB EIC คาดอุตสาหกรรมก่อสร้างปี 2024 ขยายตัว 2%YOY แตะ 1.4 ล้านล้านบาท แนะผู้...
SCB EIC คาดอุตสาหกรรมก่อสร้างปี 2024 ขยายตัว 2%YOY แตะ 1.4 ล้านล้านบาท แนะผู้...
 
In focus-Health and wellness survey-2023.pdf
In focus-Health and wellness survey-2023.pdfIn focus-Health and wellness survey-2023.pdf
In focus-Health and wellness survey-2023.pdf
 
Outlook ไตรมาส 4/2023
Outlook ไตรมาส 4/2023Outlook ไตรมาส 4/2023
Outlook ไตรมาส 4/2023
 
อุตสาหกรรมน้ำตาลในปี 2024 ยังขยายตัวได้ แม้จะเผชิญปัญหาภัยแล้งรุนแรง
อุตสาหกรรมน้ำตาลในปี 2024 ยังขยายตัวได้ แม้จะเผชิญปัญหาภัยแล้งรุนแรงอุตสาหกรรมน้ำตาลในปี 2024 ยังขยายตัวได้ แม้จะเผชิญปัญหาภัยแล้งรุนแรง
อุตสาหกรรมน้ำตาลในปี 2024 ยังขยายตัวได้ แม้จะเผชิญปัญหาภัยแล้งรุนแรง
 
SCB-EIC-Monthly-NOV-20231123.pdf
SCB-EIC-Monthly-NOV-20231123.pdfSCB-EIC-Monthly-NOV-20231123.pdf
SCB-EIC-Monthly-NOV-20231123.pdf
 
SCB EIC มองตลาดพื้นที่สำนักงานให้เช่าและตลาดพื้นที่ค้าปลีกให้เช่าปี 2024 ยังม...
SCB EIC มองตลาดพื้นที่สำนักงานให้เช่าและตลาดพื้นที่ค้าปลีกให้เช่าปี 2024 ยังม...SCB EIC มองตลาดพื้นที่สำนักงานให้เช่าและตลาดพื้นที่ค้าปลีกให้เช่าปี 2024 ยังม...
SCB EIC มองตลาดพื้นที่สำนักงานให้เช่าและตลาดพื้นที่ค้าปลีกให้เช่าปี 2024 ยังม...
 
โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ และพลังงานลมปี 2024 เติบโตตามกระแสการใช้ไฟฟ้าสีเขีย...
โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ และพลังงานลมปี 2024 เติบโตตามกระแสการใช้ไฟฟ้าสีเขีย...โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ และพลังงานลมปี 2024 เติบโตตามกระแสการใช้ไฟฟ้าสีเขีย...
โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ และพลังงานลมปี 2024 เติบโตตามกระแสการใช้ไฟฟ้าสีเขีย...
 
อุตสาหกรรมอาหารทะเลมีแนวโน้มฟื้นตัวดีขึ้น ท่ามกลางแนวโน้มการฟื้นตัวที่เปราะบา...
อุตสาหกรรมอาหารทะเลมีแนวโน้มฟื้นตัวดีขึ้น ท่ามกลางแนวโน้มการฟื้นตัวที่เปราะบา...อุตสาหกรรมอาหารทะเลมีแนวโน้มฟื้นตัวดีขึ้น ท่ามกลางแนวโน้มการฟื้นตัวที่เปราะบา...
อุตสาหกรรมอาหารทะเลมีแนวโน้มฟื้นตัวดีขึ้น ท่ามกลางแนวโน้มการฟื้นตัวที่เปราะบา...
 
Industry_Insight_Restaurant_20231107.pdf
Industry_Insight_Restaurant_20231107.pdfIndustry_Insight_Restaurant_20231107.pdf
Industry_Insight_Restaurant_20231107.pdf
 
SCB EIC Industry insight-Power overview-20231027.pdf
SCB EIC Industry insight-Power overview-20231027.pdfSCB EIC Industry insight-Power overview-20231027.pdf
SCB EIC Industry insight-Power overview-20231027.pdf
 

SCB EIC คาดเศรษฐกิจ CLMV ขยายตัวต่อเนื่องจากแรงส่งการบริโภคและภาคการท่องเที่ยว แม้มีปัจจัยกดดันจากเศรษฐกิจโลกชะลอตัว และความเสี่ยงเฉพาะประเทศ

  • 1. เศรษฐกิจ CLMV มีแนวโน้มขยายตัวต่อเนื่อง โดยมีแรงส่งจากการ ท่องเที่ยวและการบริโภคภายในประเทศ แม้การส่งออกและการลงทุนโดยตรง จากต่างประเทศค่อนข้างซบเซา ทั้งนี้แต่ละประเทศมีอัตราการฟื้นตัว ที่ไม่เท่ากัน ขึ้นกับปัจจัยเสี่ยงกดดันรายประเทศที่ต้องจับตา CLMV Outlook มุมมองเศรษฐกิจ CLMV ปี 2023 ณ เดือน ก.ค. 2023
  • 2. 2 สรุปแนวโน้มเศรษฐกิจ CLMV ปี 2023 เศรษฐกิจกัมพูชามีแนวโน้มขยายตัวดีกว่าคาดที่ 5.9% ในปี 2023 (เดิมคาด 5.5%) จากภาคการท่องเที่ยวที่ฟื้นตัวต่อเนื่องทั้งด้านจานวนนักท่องเที่ยวและค่าใช้จ่ายต่อหัว โดยเฉพาะหลังการ เปิดประเทศของจีน ขณะที่การบริโภคภายในประเทศทยอยปรับดีขึ้นตามตลาดแรงงานที่ฟื้นตัวและเงินเฟ้อที่ชะลอลง ทั้งนี้การส่งออกและการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศยังค่อนข้างซบเซา คาดว่าเศรษฐกิจกัมพูชาจะทยอยปรับดีขึ้นในช่วงครึ่งหลังของปี ปัจจัยเสี่ยงที่ต้องจับตา ได้แก่ การจ้างงานในภาคการผลิตที่อาจชะลอตัวตามการส่งออกและกระทบการบริโภคต่อไป เศรษฐกิจสปป.ลาวมีแนวโน้มฟื้นตัวค่อยเป็นค่อยไปที่ 4.0% ในปี 2023 (เดิมคาด 3.0%) โดยมีแรงสนับสนุนจากภาคการท่องเที่ยวและบริการหลังการเปิดประเทศของจีน รวมถึงปัจจัยเอื้อ จากโครงการรถไฟความเร็วสูงจีน – สปป.ลาว และโครงการท่าเรือแห้งท่านาแล้ง (Thanaleng Dry Port) อย่างไรก็ดี เศรษฐกิจยังมีความเปราะบางจากเงินเฟ้อสูง หนี้สาธารณะสูงเทียบกับ มูลค่าทุนสารองระหว่างประเทศ และเงินกีบอ่อนค่าต่อเนื่อง สปป.ลาวจึงมีแนวโน้มใช้นโยบายการเงินและนโยบายการคลังตึงตัว ซึ่งจะกระทบศักยภาพของเศรษฐกิจในระยะปานกลางได้ เศรษฐกิจเมียนมีแนวโน้มขยายตัว 3.0% ในปีงบประมาณ 2022/2023 สะท้อนสถานการณ์ในประเทศที่ทยอยกลับมาเป็นปกติมากขึ้นจากฐานที่ต่ามาก อย่างไรก็ตาม เศรษฐกิจยังถูกกดดัน จากความไม่แน่นอนทางการเมืองต่อเนื่อง ส่งผลให้กิจกรรมทางเศรษฐกิจและตลาดแรงงานยังอ่อนแอ ขณะที่ชาติตะวันตกยังคงใช้มาตรการคว่าบาตรต่อเนื่องส่งผลให้การฟื้นตัวของ เศรษฐกิจเป็นไปได้อย่างจากัด และเกิดปัญหาการขาดแคลนปริมาณเงินหมุนเวียนในระบบ ปัจจัยทางการเมืองจะยังเป็นประเด็นกดดันให้เศรษฐกิจเมียนมาเติบโตต่าในระยะปานกลาง เศรษฐกิจกิจเวียดนามมีแนวโน้มขยายตัวซบเซาต่ากว่าคาดการณ์ก่อนหน้าที่ 5.0% ในปี 2023 (เดิมคาด 6.2%) จากการส่งออกและการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศที่อ่อนแอ ประกอบกับ ความเสี่ยงอื่น ๆ รุมเร้า อาทิ การขาดแคลนสภาพคล่องในระบบการเงินจากภาวะการเงินตึงตัว ส่งผลให้ภาคอสังหาฯ ชะลอตัวรุนแรง และบางธุรกิจไม่สามารถระดมทุนได้ ซึ่งจะกระทบความ เชื่อมั่นและการลงทุน ขณะที่ภาคสถาบันการเงินอาจเปราะบางมากขึ้นจากปัญหาหนี้เสีย ตลอดจนปัจจัยอื่น ๆ ที่ยังต้องจับตา อาทิ ความไม่แน่นอนทางการเมืองหลังการเปลี่ยนประธานาธิบดี และการขาดแคลนพลังงานไฟฟ้า ทั้งนี้การบริโภคภายในประเทศยังสามารถขยายตัวได้ นโยบายการเงินและนโยบายการคลังมีแนวโน้มผ่อนคลายต่อไปเพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจ กัมพูชา สปป.ลาว เมียนมา เวียดนาม
  • 3. 3 เศรษฐกิจ CLMV มีแนวโน้มขยายตัวต่อเนื่องในปีนี้ โดยมีแรงขับเคลื่อนจากภาคการท่องเที่ยวและภาคบริการ แต่แนวโน้มการเติบโตมีความแตกต่างกันระหว่างประเทศ ขึ้นกับปัจจัยเสี่ยงกดดันรายประเทศ หมายเหตุ : *กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก ที่มา : การวิเคราะห์โดย EIC จากข้อมูลของ หมายเหตุ : *คาดการณ์ก่อนหน้า ณ เดือน ม.ค. 2023 **ปี 2023F ของเมียนมาคือปีงบประมาณ 2022/2023 ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของสานักงานสถิติกลุ่มประเทศ CLMV และ IMF คาดการณ์อัตราการขยายตัวของเศรษฐกิจ CLMV ปี 2023 หน่วย : %YOY ปัจจัยบวก ปัจจัยลบ ปัจจัยเสี่ยงที่ควรจับตา 7.0 7.3 6.6 6.6 5.3 4.4 2.0 8.0 5.9 4.0 3.0 5.0 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 กัมพูชา สปป.ลาว เมียนมา** เวียดนาม ค่าเฉลี่ยปี 2010-2019 2022 2023f (5.5)* (3.0)* (3.0)* (6.2)* • ภาคการท่องเที่ยวฟื้นตัวต่อเนื่อง ทั้งจานวนนักท่องเที่ยวและ รายจ่ายต่อหัว โดยมีปัจจัยกระตุ้นจากการเปิดประเทศของจีน • อุปสงค์ภายในประเทศฟื้นตัว ตามตลาดแรงงานที่ปรับดีขึ้น • นักลงทุนยังสนใจเศรษฐกิจ CLMV จากความได้เปรียบของค่าจ้าง แรงงาน การเชื่อมโยงในภูมิภาค และตลาดในประเทศที่เติบโตเร็ว • เศรษฐกิจโลกเติบโตชะลอลง กดดันการส่งออกและการลงทุนโดยตรง จากต่างประเทศในปีนี้ • ภาวะการเงินตึงตัวขึ้น ทาให้ต้นทุนการระดมทุนสูงขึ้น และกดดัน การลงทุนของธุรกิจ • ปัจจัยลบเฉพาะประเทศ อาทิ ความไม่แน่นอนทางการเมืองในเมียนมา • การจ้างงานในภาคการผลิตที่อาจชะลอลง หากการส่งออกฟื้นช้า • ภาระหนี้สูงในบางประเทศ โดยเฉพาะหนี้สาธารณะในสปป.ลาว และหนี้ภาคอสังหาฯ ในเวียดนาม • ค่าเงินอาจอ่อนค่าต่อเนื่อง ตามการแข็งค่าของดอลลาร์สหรัฐ ส่งผลให้เงินเฟ้อลดลงช้า
  • 4. 4 ภาคการท่องเที่ยวและการบริโภคภายในประเทศ โดยเฉพาะภาคบริการ เป็นปัจจัยบวกต่อ CLMV แต่เศรษฐกิจ โลกที่ขยายตัวชะลอลง โดเฉพาะภาคการผลิต จะกดดันการส่งออกและการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ หมายเหตุ : *สปป.ลาวไม่ได้รายงานจานวนนักท่องเที่ยวรายเดือนตั้งแต่ปี 2020 ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ S&P Global, OECD, Vietnam General Statistics Office และ CEIC ภาคการท่องเที่ยวและการบริโภคในประเทศขยายตัวต่อเนื่อง ภาคการผลิตโลกซบเซาและความเชื่อมั่นยังไม่ฟื้นตัว กระทบแนวโน้มการส่งออกและการลงทุนใน CLMV ดัชนี Manufacturing PMI ประเทศคู่ค้าสาคัญ หน่วย : ดัชนี (>50 = ขยายตัว, <50 = หดตัว) จานวนนักท่องเที่ยวต่างชาติ* หน่วย : ล้านคน ดัชนี Manufacturing Confidence Indicator ของ OECD หน่วย : ดัชนี (>100 = ขยายตัว, <100 = หดตัว) 0.0 0.5 1.0 1.5 2.0 2.5 ค่ า เฉลี ่ ย 2019 01/2022 02/2022 03/2022 04/2022 05/2022 06/2022 07/2022 08/2022 09/2022 10/2022 11/2022 12/2022 01/2023 02/2023 03/2023 04/2023 05/2023 เวียดนาม กัมพูชา เมียนมา อัตราการขยายตัวของยอดค้าปลีกเวียดนาม หน่วย : %YOY 0 10 20 Oct-22 Nov-22 Dec-22 Jan-23 Feb-23 Mar-23 Apr-23 May-23 Jun-23 Goods Accomodation & Food Tourism Other services 30 35 40 45 50 55 60 65 70 Jan-21 Apr-21 Jul-21 Oct-21 Jan-22 Apr-22 Jul-22 Oct-22 Jan-23 Apr-23 Global US Eurozone China Japan ASEAN 94 96 98 100 102 104 106 Jan-21 Apr-21 Jul-21 Oct-21 Jan-22 Apr-22 Jul-22 Oct-22 Jan-23 Apr-23 US Eurozone China Japan South Korea การเปิดประเทศของจีนเป็นปัจจัยกระตุ้นภาคการท่องเที่ยว แต่มีอานิสงส์จากัดต่อการส่งออก เนื่องจากเศรษฐกิจจีนฟื้นตัวจากภาคบริการเป็นหลัก ซึ่งมีการนาเข้าสินค้าน้อยกว่าภาคอุตสาหกรรมที่ยังซบเซา
  • 5. 5 อัตราเงินเฟ้อชะลอตัวลงตามราคาสินค้าโภคภัณฑ์โลก แต่ยังมีแรงกดดันจากค่าเงินอ่อนค่าตามทิศทางการขึ้น ดอกเบี้ยของ Fed และความเปราะบางของเศรษฐกิจในประเทศ นโยบายการเงินจึงแตกต่างกันตามบริบทประเทศ หมายเหตุ : *เมียนมาไม่ได้รายงานตัวเลขเงินเฟ้อตั้งแต่เดือน ก.ค. 2021 ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ CEIC อัตราเงินเฟ้อทั่วไป หน่วย : %YOY อัตราดอกเบี้ยนโยบาย หน่วย : %YOY 0 20 40 60 -5 0 5 10 15 20 25 Jan-21 Mar-21 May-21 Jul-21 Sep-21 Nov-21 Jan-22 Mar-22 May-22 Jul-22 Sep-22 Nov-22 Jan-23 Mar-23 May-23 Cambodia Myanmar* Vietnam Lao PDR (แกนขวา) 2 4 6 8 Jan-21 Mar-21 May-21 Jul-21 Sep-21 Nov-21 Jan-22 Mar-22 May-22 Jul-22 Sep-22 Nov-22 Jan-23 Mar-23 May-23 Lao PDR Myanmar Vietnam (Refinancing rate) ทิศทางอัตราดอกเบี้ยนโยบายมีความแตกต่างกัน เช่น เวียดนามลดดอกเบี้ยเพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจ และเพิ่มสภาพคล่อง ขณะที่สปป.ลาวขึ้นดอกเบี้ยเพื่อรักษาเสถียรภาพราคาและค่าเงิน ดัชนีค่าเงินประเทศ CLMV ต่อดอลลาร์สหรัฐ หน่วย : ดัชนี (2 ม.ค. 2021 = 100) ดัชนีค่าเงินดอลลาร์สหรัฐ (US Dollar Index) หน่วย : ดัชนี 0 100 200 300 98 100 102 104 Jan-21 Mar-21 May-21 Jul-21 Sep-21 Nov-21 Jan-22 Mar-22 May-22 Jul-22 Sep-22 Nov-22 Jan-23 Mar-23 May-23 Jul-23 KHR VND LAK (แกนขวา) MMK (แกนขวา) 80 90 100 110 120 Jan-21 Mar-21 May-21 Jul-21 Sep-21 Nov-21 Jan-22 Mar-22 May-22 Jul-22 Sep-22 Nov-22 Jan-23 Mar-23 May-23 Jul-23 อ่อนค่า แข็งค่า ดอลลาร์สหรัฐแข็งค่า ดอลลาร์สหรัฐอ่อนค่า
  • 6. 6 การค้าและการลงทุนโดยตรงระหว่างไทยกับ CLMV ซบเซาในช่วงครึ่งปีแรก ตามภาคการผลิตที่ชะลอตัว และสภาพแวดล้อมการทาธุรกิจใน CLMV บางประเทศที่ยังไม่เอื้อในระยะสั้น ขณะที่จานวนแรงงาน CLM ในไทยทรงตัว หมายเหตุ : *ที่ขึ้นทะเบียนกับสานักบริหารแรงงานต่างด้าว สานักงานบริหารแรงงานต่างด้าวได้มีการรายงานตัวเลขใหม่เพื่อให้สอดคลองกับมติครม. วันที่ 7 ก.พ. 2023 ตั้งแต่เดือน ก.พ. เป็นต้นไป ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของกระทรวงพาณิชย์ ธนาคารแห่งประเทศไทย และสานักบริหารแรงงานต่างด้าว การส่งออกและนาเข้าสินค้าของไทยกับ CLMV หน่วย : %YOY การลงทุนโดยตรงจากไทยไป CLMV หน่วย : ล้านดอลลาร์สหรัฐ การจ้างงานแรงงาน CLM ในไทย* หน่วย : คน -40 -30 -20 -10 0 10 20 30 40 50 60 Jan-19 Jun-19 Nov-19 Apr-20 Sep-20 Feb-21 Jul-21 Dec-21 May-22 Oct-22 Mar-23 Exports (TH to CLMV) Imports (TH from CLMV) 0 1000 2000 3000 4000 5000 6000 0 200 400 600 800 1000 1200 1400 1600 1800 Q1/19 Q3/19 Q1/20 Q3/20 Q1/21 Q3/21 Q1/22 Q3/22 Q1/23 2019 2020 2021 2022 กัมพูชา สปป.ลาว เมียนมา เวียดนาม 0 400,000 800,000 1,200,000 1,600,000 2,000,000 2,400,000 2,800,000 Feb-23 Mar-23 Apr-23 May-23 Jun-23 เมียนมา กัมพูชา สปป.ลาว การค้าระหว่างไทยกับ CLMV หดตัวในช่วงครึ่งแรกของปี สอดคล้องภาพรวมการค้าโลกที่ชะลอตัว แต่คาดว่าจะขยายตัวได้ดีขึ้น ในช่วงครึ่งหลังของปีจากปัจจัยฐานต่าและเศรษฐกิจที่เติบโตดีขึ้น การลงทุนโดยตรงจากไทยไป CLMV ซบเซาต่อเนื่อง สะท้อน หลายปัจจัยกดดัน เช่น ต้นทุนการระดมทุนสูงขึ้น เศรษฐกิจยัง ฟื้นตัวไม่เต็มที่ และปัจจัยเสี่ยงรายประเทศที่กระทบการทาธุรกิจ จานวนแรงงาน CLM ในไทยทรงตัวในช่วงครึ่งแรกของปี โดยแรงงานกัมพูชาและสปป.ลาวเพิ่มขึ้น ขณะที่แรงงานเมียนมาลดลง
  • 7. เศรษฐกิจกัมพูชามีแนวโน้มขยายตัวดีกว่าคาด จากภาคการท่องเที่ยวและการบริโภคภายในประเทศที่ฟื้นตัว ปัจจัยเสี่ยง ที่ต้องจับตา ได้แก่ ภาคการผลิตและการส่งออกเครื่องนุ่งห่มที่ชะลอตัวและการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศที่ยังซบเซา เศรษฐกิจกัมพูชา
  • 8. 8 SCB EIC ปรับเพิ่มคาดการณ์การขยายตัวของเศรษฐกิจกัมพูชาเป็น 5.9% (เดิม 5.5%) ตามจานวนนักท่องเที่ยว ต่างชาติที่เพิ่มขึ้นต่อเนื่อง โดยเฉพาะนักท่องเที่ยวจีน และการบริโภคภายในประเทศที่ฟื้นตัว หมายเหตุ : *กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก ที่มา : การวิเคราะห์โดย EIC จากข้อมูลของ ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ CEIC National Institute of Statistics และ National Bank of Cambodia อัตราการขยายตัวของเศรษฐกิจกัมพูชา หน่วย : %YOY 6.0 7.1 7.3 7.4 7.1 7.0 6.9 7.0 7.5 7.1 -3.1 3.0 5.3 5.9 -4 -2 0 2 4 6 8 10 2010 2011 2012 2013 2014 2015 2016 2017 2018 2019 2020 2021 2022 2023f Agriculture, Fishery, Forestry Industry Services Others อัตราการเติบโตเฉลี่ย 7% เศรษฐกิจกัมพูชาจะยังคงเติบโตต่ากว่าช่วงก่อน COVID-19 สะท้อนการฟื้นตัวที่ยังไม่เต็มที่ ส่วนหนึ่งจากจานวน นักท่องเที่ยวต่างชาติที่ยังอยู่ต่ากว่าระดับก่อน COVID-19 และรายได้แรงงานที่ฟื้นตัวค่อยเป็นค่อยไป ปัจจัยบวก ปัจจัยลบ ปัจจัยเสี่ยงที่ควรจับตา • ภาคการท่องเที่ยวฟื้นตัวต่อเนื่อง จานวนนักท่องเที่ยวและการใช้ จ่ายต่อหัวปรับสูงขึ้น โดยเฉพาะหลังการเปิดประเทศของจีน • อุปสงค์ภายในประเทศฟื้นตัว ตามตลาดแรงงานที่ปรับดีขึ้นและการ ฟื้นตัวของภาคบริการ • เศรษฐกิจโลกเติบโตชะลอลง กดดันการส่งออกและการลงทุน โดยตรงจากต่างประเทศ • ภาวะการเงินในประเทศตึงตัวขึ้น ตามนโยบายการเงินของสหรัฐฯ ผ่านช่องทางอัตราดอกเบี้ยเงินฝากและเงินกู้สกุล USD ที่สูงขึ้น เนื่องจากเศรษฐกิจพึ่งพาการใช้ USD สูง (Dollarized economy) • หนี้ภาคเอกชนสูง เป็นความเสี่ยงต่อเสถียรภาพระบบการเงิน • การจ้างงานในภาคการผลิตที่อาจอ่อนแอลง ตามอุตสาหกรรม เครื่องนุ่งห่มที่ซบเซา • การเลือกตั้งทั่วไปในเดือน ก.ค. 2023 และนัยต่อนโยบายการคลัง Cambodia
  • 9. 9 จานวนนักท่องเที่ยวเข้ากัมพูชาเพิ่มขึ้นต่อเนื่องหลังการเปิดประเทศของจีน ขณะที่การส่งออกยังซบเซา แต่มี แนวโน้มปรับดีขึ้นในครึ่งปีหลังจากปัจจัยฐานต่าและการส่งออกสินค้าอุตสาหกรรมขับเคลื่อนใหม่ของภาครัฐ หมายเหตุ : *กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก ที่มา : การวิเคราะห์โดย EIC จากข้อมูลของ ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ Ministry of Tourism และ General Department of Customs and Excise of Cambodia จานวนผู้เยี่ยมเยือน หน่วย : ราย การส่งออก (หักทอง โลหะมีค่า และไข่มุก) หน่วย : %YOY รายได้จากการท่องเที่ยว หน่วย : ล้านดอลลาร์สหรัฐ หน่วย : % ของ GDP 0 200,000 400,000 600,000 800,000 Jan-19 Apr-19 Jul-19 Oct-19 Jan-20 Apr-20 Jul-20 Oct-20 Jan-21 Apr-21 Jul-21 Oct-21 Jan-22 Apr-22 Jul-22 Oct-22 Jan-23 China East Asia ex. CN ASEAN Europe Americas Others -40 -20 0 20 40 60 Jan-22 Feb-22 Mar-22 Apr-22 May-22 Jun-22 Jul-22 Aug-22 Sep-22 Oct-22 Nov-22 Dec-22 Jan-23 Feb-23 Mar-23 Apr-23 Clothing, apparels & footwear Leather & travel goods Electrical machinery & electronics Cereals & fruits Vehicles Others Total 0 10 20 0 1,000 2,000 3,000 4,000 5,000 2010 2011 2012 2013 2014 2015 2016 2017 2018 2019 2020 2021 2022 Tourism revenue % of GDP (RHS) การส่งออกกัมพูชาหดตัวต่อเนื่องตามอุปสงค์โลกขยายตัวชะลอลง โดยเฉพาะเครื่องนุ่งห่ม แต่มีปัจจัยบวกจากการส่งออกผลไม้ไปจีนและการส่งออกสินค้าอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งเป็นอุตสาหกรรม ขับเคลื่อนใหม่ ทั้งนี้การส่งออกมีแนวโน้มปรับดีขึ้นในช่วงครึ่งปีหลังจากปัจจัยฐานต่า ภาคการท่องเที่ยวของกัมพูชาได้รับการสนับสนุนจากนักท่องเที่ยวจีนที่เริ่มเดินทางเข้ามามากขึ้น แต่ยังอยู่ในระดับต่ากว่าก่อน COVID-19 มาก จึงยังมีศักยภาพที่จะฟื้นตัวได้อีกสูง โดยนักท่องเที่ยวจีนมี ค่าใช้จ่ายต่อหัวสูงกว่านักท่องเที่ยวอาเซียน ส่งผลให้รายได้จากการท่องเที่ยวเพิ่มขึ้นในปีนี้ Cambodia
  • 10. 10 การลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศและการลงทุนในประเทศฟื้นตัวช้า โดยเฉพาะภาคอสังหาริมทรัพย์ ส่วนหนึ่ง เป็นผลจากอุปสงค์การลงทุนจากต่างประเทศที่เพิ่งเริ่มกลับมาและภาวะการเงินในประเทศที่ตึงตัวขึ้น หมายเหตุ : *กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก ที่มา : การวิเคราะห์โดย EIC จากข้อมูลของ หมายเหตุ : *โดย Council for the Development of Cambodia (Cambodian Investment Board) **ที่ไม่ใช่สถาบันการเงิน ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ National Bank of Cambodia การลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศสุทธิ (Net FDI flow) หน่วย : ล้านดอลลาร์สหรัฐ หน่วย : %YOY มูลค่าการลงทุนในสินทรัพย์ถาวรที่ได้รับการอนุมัติ หน่วย : ล้านดอลลาร์สหรัฐ อัตราการขยายตัวของยอดคงค้างสินเชื่อธุรกิจ** หน่วย : %YOY 0 500 1000 1500 2000 2500 3000 3500 4000 Agriculture Industry Services Tourism Energy Others 0 20 40 60 Jan-18 Jul-18 Jan-19 Jul-19 Jan-20 Jul-20 Jan-21 Jul-21 Jan-22 Jul-22 Jan-23 Total of which: Construction of which: Real estate -25 0 25 50 75 100 -300 0 300 600 900 1200 Q1/18 Q3/18 Q1/19 Q3/19 Q1/20 Q3/20 Q1/21 Q3/21 Q1/22 Q3/22 FDI Growth (RHS) การลงทุนในโครงการ โครงสร้างพื้นฐาน 1.3 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ Year Value Growth 2018 3,213 15.2% 2019 3,670 14.2% 2020 3,627 -1.2% 2021 3,511 -3.2% 2022 3,591 2.3% มูลค่า FDI ไหลเข้ากัมพูชา ค่อนข้างซบเซาระหว่างปี 2020-2022 โดยยังต่ากว่า ในปี 2019 แต่เริ่มมี สัญญาณปรับดีขึ้นหลัง กัมพูชาเปิดประเทศหลัง COVID-19 และเศรษฐกิจ ทยอยฟื้นตัว SCB EIC มองว่าการลงทุนทั้งจากในและนอกประเทศจะฟื้นตัว ค่อยเป็นค่อยไป โดยเฉพาะหลังจีนเปิดประเทศ แต่ยังมีปัจจัยกดดัน จากมูลค่าการลงทุนที่ได้รับอนุมัติ* ที่มีน้อยตั้งแต่ปี 2021 Year (avg.) Total (%YOY) Con. (%YOY) RE. (%YOY) 2018 17.5% 23.2% 47.8% 2019 22.6% 28.6% 43.2% 2020 17.8% 20.8% 30.6% 2021 22.5% 28.6% 26.7% 2022 24.5% 20.6% 36.1% 4M23 15.0% 12.6% 18.9% ภาวะการเงินที่ตึงตัวขึ้น เป็นอีกปัจจัยกดดันการ ลงทุนของกัมพูชา จากต้นทุนการกู้ยืมสูงขึ้น ทาให้การปล่อยสินเชื่อ ธุรกิจ โดยเฉพาะภาค การก่อสร้างและอสังหาฯ ชะลอตัว Cambodia
  • 11. 11 อุปสงค์ภายในประเทศมีแนวโน้มฟื้นตัวต่อเนื่องในปีนี้ โดยมีปัจจัยสนับสนุนจากตลาดแรงงานที่ปรับดีขึ้น การฟื้นตัว ของภาคบริการ และอัตราเงินเฟ้อที่ชะลอลง ทั้งนี้ต้องจับตาปัจจัยเสี่ยงการจ้างงานในภาคการผลิต หมายเหตุ : *กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก ที่มา : การวิเคราะห์โดย EIC จากข้อมูลของ ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ National Institute of Statistics Ministry of Tourism และ CEIC จานวนนักท่องเที่ยวภายในประเทศ หน่วย : จานวนทริป อัตราเงินเฟ้อ หน่วย : %YOY 0 2,000,000 4,000,000 6,000,000 8,000,000 10,000,000 12,000,000 14,000,000 2018 2019 2020 2021 2022 -1 0 1 2 3 4 5 6 7 8 Jan-21 Apr-21 Jul-21 Oct-21 Jan-22 Apr-22 Jul-22 Oct-22 Jan-23 Apr-23 Others Transportation Housing & utilities Food & non-alcoholic beverages Headline inflation Core inflation 1. การฟื้นตัวของภาคการท่องเที่ยวและบริการ มีแนวโน้มเพิ่ม ความเชื่อมั่นของผู้บริโภคผ่านรายได้ในตลาดแรงงานที่สูงขึ้น และสนับสนุนการใช้จ่ายต่อไป 2. ความต้องการใช้จ่าย (Pent-up demand) ยังคงมีอยู่สะท้อนจาก การท่องเที่ยวภายในประเทศปี 2022 ที่ฟื้นกลับมาสูงกว่าระดับ ก่อน COVID-19 แล้ว 3. อัตราเงินเฟ้อชะลอลง ตามราคาสินค้าโภคภัณฑ์โลกที่ลดลง และฐานสูง จะสนับสนุนให้รายได้ที่แท้จริง (Real income) ของผู้บริโภคเพิ่มขึ้น 4. มาตรการช่วยเหลือกลุ่มเปราะบางของภาครัฐ ผ่านการโอนเงิน เยียวยา ซึ่งจะช่วยให้กลุ่มเปราะบางมีสภาพคล่องเพิ่มขึ้น ทั้งนี้ต้องจับตาการจ้างงานในภาคการผลิตที่อาจชะลอลงตามการ ส่งออก โดยเฉพาะในอุตสาหกรรมการผลิตเครื่องนุ่งห่ม ซึ่งอาจ กระทบรายได้แรงงานตามมา ปัจจัยสนับสนุนการบริโภคภาคเอกชน Cambodia
  • 12. 12 การขาดดุลบัญชีเดินสะพัดมีแนวโน้มปรับดีขึ้น หลังรัฐบาลออกมาตรการจากัดการนาเข้าทองและรายได้การท่องเที่ยว ฟื้นตัว ส่งผลให้เสถียรภาพด้านต่างประเทศปรับดีขึ้น แม้ภาวะการเงินยังคงตึงตัวตามนโยบายการเงินสหรัฐฯ หมายเหตุ : *กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก ที่มา : การวิเคราะห์โดย EIC จากข้อมูลของ ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ National Bank of Cambodia ค่าเงิน KHR หน่วย : USD/KHR หน่วย : THB/KHR ดุลบัญชีเดินสะพัด หน่วย : % ของ GDP อัตราดอกเบี้ยเงินฝากและเงินกู้ธนาคารเฉลี่ย (สกุลเงิน USD) หน่วย : % 4.8 10.5 4.8 8.8 4.3 9.1 4.7 9.7 5.4 10.0 0 2 4 6 8 10 12 Deposits Loans 2018 2019 2020 2021 2022 100 105 110 115 120 125 130 135 140 4000 4020 4040 4060 4080 4100 4120 4140 4160 4180 4200 Jan-21 May-21 Sep-21 Jan-22 May-22 Sep-22 Jan-23 May-23 USD/KHR THB/KHR (RHS) -75 -50 -25 0 25 Q1/19 Q3/19 Q1/20 Q3/20 Q1/21 Q3/21 Q1/22 Q3/22 Goods Services Primary income Secondary income Current account KHR แข็งค่า KHR อ่อนค่า เงินเรียลเผชิญแรงกดดันด้านอ่อนค่าอีกครั้ง หลังดอลลาร์ สหรัฐกลับมาแข็งค่าตามมุมมองตลาดการเงินที่เพิ่มโอกาสว่า Fed จะขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบายอีก การขาดดุลบัญชีเดินสะพัดมีแนวโน้มปรับดีขึ้น ตามมูลค่า นาเข้าทองคาและน้ามันที่ลดลง ขณะที่รายได้จากการท่องเที่ยว เพิ่มขึ้น ช่วยให้เสถียรภาพต่างประเทศปรับดีขึ้น ภาวะการเงินมีความสัมพันธ์กับทิศทางนโยบายการเงินสหรัฐฯ สูง เนื่องจากระบบเศรษฐกิจที่ใช้เงินดอลลาร์สหรัฐ (Dollarized economy) โดยคาดว่าภาวะการเงินจะยังคงตึงตัวต่อเนื่องในปีนี้ Cambodia
  • 13. เศรษฐกิจสปป.ลาวมีแนวโน้มฟื้นตัวค่อยเป็นค่อยไป โดยมีปัจจัยสนับสนุนจากภาคการท่องเที่ยวและบริการหลังจีนเปิดประเทศ อย่างไรก็ดี เศรษฐกิจยังมีความเปราะบางจากหนี้สาธารณะสูง ขณะที่ทุนสารองระหว่างประเทศต่าและเงินกีบอ่อนค่ารุนแรง ซึ่งจะกดดันการเติบโตของเศรษฐกิจในระยะต่อไป เศรษฐกิจสปป.ลาว
  • 14. 14 SCB EIC ปรับเพิ่มคาดการณ์เศรษฐกิจสปป.ลาวเป็น 4.0% (เดิมคาด 3.0%) โดยมีภาคการท่องเที่ยวและบริการ เป็นปัจจัยขับเคลื่อน ทั้งนี้เศรษฐกิจยังมีความเปราะบางสูง ส่งผลให้อัตราการขยายตัวต่ากว่าค่าเฉลี่ยในอดีต หมายเหตุ : *กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก ที่มา : การวิเคราะห์โดย EIC จากข้อมูลของ หมายเหตุ : *ท่าบกท่านาแล้ง (Thanaleng Dry Port) คือจุดเปลี่ยนถ่ายสินค้าซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของโครงการ Vientiane Logistics Park ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ Bank of the Lao PDR Lao PDR อัตราการขยายตัวของเศรษฐกิจสปป.ลาว หน่วย : %YOY ปัจจัยบวก ปัจจัยลบ ปัจจัยเสี่ยงที่ควรจับตา • การเปิดประเทศของจีน ช่วยสนับสนุนภาคการส่งออก การลงทุนโดยตรง จากต่างประเทศ และการท่องเที่ยว • โครงการลงทุนโครงสร้างพื้นฐานโลจิสติกส์ อาทิ รถไฟความเร็วสูงจีน- สปป.ลาว และท่าบกท่านาแล้ง* สนับสนุนการเดินทางและขนส่งภายใน ภูมิภาค • อัตราเงินเฟ้ออยู่ในระดับสูงมาก กระทบการใช้จ่ายผู้บริโภคและ ต้นทุนธุรกิจ อาทิ ราคาปุ๋ยและวัตถุดิบ • พื้นที่การคลังมีเหลือไม่มาก กดดันการลงทุนโครงการโครงสร้าง พื้นฐานและการใช้จ่ายกระตุ้นเศรษฐกิจ • ภาระหนี้ต่างประเทศสูง ท่ามกลางทุนสารองระหว่างประเทศที่ต่า ขณะที่ช่องทางการระดมทุนมีจากัดมากขึ้น • เงินกีบมีแนวโน้มอ่อนค่าต่อเนื่อง จากเสถียรภาพในประเทศที่ เปราะบางและการแข็งค่าของดอลลาร์สหรัฐ • ภัยแล้งอาจกระทบผลผลิตเกษตรกรรมและการผลิตไฟฟ้าพลังงานน้า ซึ่งเป็นสินค้าส่งออกสาคัญ 8.0 7.6 7.3 7.0 6.9 6.2 5.5 3.3 3.5 4.4 4.0 -1 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 2013 2014 2015 2016 2017 2018 2019 2020 2021 2022 2023f Agriculture, Fishery, Forestry Industry Services Others อัตราการเติบโตเฉลี่ย 6.9%
  • 15. 15 ภาคการท่องเที่ยวและบริการเป็นปัจจัยขับเคลื่อนเศรษฐกิจปีนี้ โดยได้การสนับสนุนจากการเปิดประเทศของจีนและ โครงการโลจิสติกส์ที่ส่งเสริมการเชื่อมต่อในภูมิภาค ซึ่งคาดว่าจะเป็นปัจจัยกระตุ้นการส่งออกและการลงทุนต่อไป หมายเหตุ : *กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก ที่มา : การวิเคราะห์โดย EIC จากข้อมูลของ ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ CEIC, Bank of the Lao PDR และสานักข่าวต่างประเทศ Lao PDR มูลค่าการส่งออกสินค้า หน่วย : ล้านดอลลาร์สหรัฐ จานวนนักท่องเที่ยวต่างชาติในช่วง 4 เดือนแรกของแต่ละปี หน่วย : ล้านคน หน่วย : %YOY -20 0 20 40 60 80 100 -400 0 400 800 1,200 1,600 2,000 2,400 Q1/19 Q2/19 Q3/19 Q4/19 Q1/20 Q2/20 Q3/20 Q4/20 Q1/21 Q2/21 Q3/21 Q4/21 Q1/22 Q2/22 Q3/22 Q4/22 Q1/23 Exports Value Growth Rate (แกนขวา) 1.5 0.5 1.1 0.0 0.5 1.0 1.5 2.0 2019 (pre-pandemic) 2022 2023 การลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ (Foreign Direct Investment: FDI) หน่วย : ล้านดอลลาร์สหรัฐ หน่วย : %YOY -80 -40 0 40 80 120 -200 -100 0 100 200 300 400 Q1/19 Q2/19 Q3/19 Q4/19 Q1/20 Q2/20 Q3/20 Q4/20 Q1/21 Q2/21 Q3/21 Q4/21 Q1/22 Q2/22 Q3/22 Q4/22 Q1/23 FDI Growth Rate (แกนขวา) • การส่งออกของสปป.ลาวหดตัวเล็กน้อยในไตรมาส 1 ตามราคาสินค้าโภคภัณฑ์ เช่น ทองแดงและไม้ที่ลดลง แต่คาดว่าจะฟื้นตัวได้ในระยะต่อไปตามเศรษฐกิจคู่ค้าหลักอย่างไทยและจีนที่ขยายตัวดีขึ้นและการส่งออก ไฟฟ้าที่เป็นปัจจัยสนับสนุน • การลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศทยอยฟื้นตัวจากฐานต่า โดยมีปัจจัยสนับสนุนจากการเปิดประเทศของจีน ซึ่งเป็นนักลงทุนหลักและโครงการเชื่อมต่อโลจิสติกส์ในสปป.ลาวไปยังจีนและประเทศอื่น ๆ ในภูมิภาค อย่างไรก็ตาม SCB EIC มองว่า FDI อาจซบเซากว่าในอดีต เนื่องจากภาครัฐชะลอการลงทุนเพื่อรักษา เสถียรภาพการคลัง ขณะที่จีนอาจลดการลงทุนในโครงการ Belt and road initiative หากฐานะการคลัง สปป.ลาวยังเปราะบาง • จานวนนักท่องเที่ยวต่างชาติในช่วง 4 เดือนแรกฟื้นตัวอย่างมีนัย หลังการเปิดประเทศเต็มรูปแบบ นักท่องเที่ยวหลักมาจากไทย เวียดนาม และจีน ตามลาดับ ซึ่งมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นต่อเนื่อง โดยเฉพาะ นักท่องเที่ยวจีนที่ยังมีศักยภาพฟื้นตัวได้อีกมาก
  • 16. 16 อัตราเงินเฟ้ออยู่ในระดับสูงและลดลงช้าเป็นปัจจัยกดดันเศรษฐกิจสปป.ลาว โดยผลสารวจของ World Bank แสดงให้เห็นผลกระทบด้านลบต่อการบริโภคครัวเรือนและครัวเรือนที่ประกอบธุรกิจ หมายเหตุ : *กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก ที่มา : การวิเคราะห์โดย EIC จากข้อมูลของ หมายเหตุ : *การศึกษาโดย World bank ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ Bank of the Lao PDR และ World Bank. Lao People’s Democratic Republic Economic Monitor: May 2023. Washington, DC: World Bank. 2023. Lao PDR ผลกระทบของเงินเฟ้อต่อกาไรครัวเรือนที่ประกอบธุรกิจ* หน่วย : % ของธุรกิจครัวเรือนที่ตอบแบบสอบถาม อัตราเงินเฟ้อทั่วไป หน่วย : %YOY แนวทางการรับมือปัญหาเงินเฟ้อสูงของครัวเรือน* หน่วย : % ของครัวเรือนที่ตอบแบบสอบถาม 28.6 0 5 10 15 20 25 30 35 40 45 Jan-21 Apr-21 Jul-21 Oct-21 Jan-22 Apr-22 Jul-22 Oct-22 Jan-23 Apr-23 Others Transport (fuel) & communications Housing & utilities Food & non-alcoholic beverage Headline Inflation 71.1 65.7 72.3 38.7 22.8 18.4 0 10 20 30 40 50 60 70 80 Use cheaper food Reduced food consumption Relied on savings Sale of assets Loan from friends/family Loan from financial institutions 0 20 40 60 80 100 All Agriculture Manufacturing Construction Transport, trade, hospitality Other services Increased Decreased Unchanged • อัตราเงินเฟ้อทั่วไปขยายตัวชะลอลงในเดือน มิ.ย. แต่ยังคงอยู่ในระดับสูง SCB EIC คาดว่าอัตราเงินเฟ้อจะทยอยชะลอต่อเนื่องแต่ไม่เร็วนัก เนื่องจากเงินกีบยังมีแนวโน้มอ่อนค่า และกดดันให้ราคาสินค้านาเข้าสูงขึ้น นอกจากนี้ ยังมองว่าผู้บริโภคและธุรกิจคาดการณ์เงินเฟ้อสูงขึ้น อาจนาไปสู่การปรับขึ้นค่าจ้างและการส่งผ่านต้นทุนตามมา • World Bank สารวจผลกระทบเงินเฟ้อต่อครัวเรือนและครัวเรือนที่ประกอบธุรกิจในสปป.ลาว พบว่าครัวเรือนส่วนใหญ่ปรับตัวรับมือปัญหาเงินเฟ้อสูงผ่านการใช้เงินออมเพื่อการบริโภค การบริโภคอาหารราคาถูกลง และการลดการบริโภคอาหาร ขณะที่บางส่วนขายสินทรัพย์หรือกู้ยืมเงิน สาหรับผลกระทบต่อครัวเรือนที่ประกอบธุรกิจมีความแตกต่างกัน ขึ้นกับความสามารถในการตั้งราคาและต้นทุนราคาวัตถุดิบ โดยครัวเรือนที่ ประกอบธุรกิจภาคบริการได้รับผลกระทบมากที่สุด
  • 17. 17 นโยบายการเงินมีแนวโน้มตึงตัวต่อเนื่องเพื่อรักษาเสถียรภาพค่าเงินและควบคุมเงินเฟ้อสูง อย่างไรก็ดี เงินกีบ ยังมีแนวโน้มอ่อนค่าตามเศรษฐกิจที่เปราะบางและการแข็งค่าของดอลลาร์สหรัฐ ส่งผลให้เงินเฟ้อลดลงได้ช้า หมายเหตุ : *กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก ที่มา : การวิเคราะห์โดย EIC จากข้อมูลของ ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ CEIC, Bank of Lao PDR และธนาคารแห่งประเทศไทย Lao PDR 1. นโยบายการเงินมีแนวโน้มตึงตัวต่อเนื่องเพื่อรักษาเสถียรภาพค่าเงินกีบและควบคุมเงินเฟ้อสูง หน่วย : % 3. ทุนสารองระหว่างประเทศต่อมูลค่านาเข้าอยู่ในระดับต่า ทาให้สปป.ลาวดูแลค่าเงินได้จากัด หน่วย : ล้านดอลลาร์สหรัฐ หน่วย : เดือน 2. เงินกีบอ่อนค่าต่อเนื่องตามเศรษฐกิจที่เปราะบางและเงินดอลลาร์ที่แข็งค่า หน่วย : USD/LAK หน่วย : THB/LAK 4. ดุลบัญชีเดินสะพัดกลับมาเกินดุลจากดุลการค้าและบริการ อาจช่วยพยุงค่าเงินได้บ้าง หน่วย : ล้านดอลลาร์สหรัฐ 0 4 8 12 Jan-19 Apr-19 Jul-19 Oct-19 Jan-20 Apr-20 Jul-20 Oct-20 Jan-21 Apr-21 Jul-21 Oct-21 Jan-22 Apr-22 Jul-22 Oct-22 Jan-23 Apr-23 Policy rate Reserve requirement rate: LAK Reserve requirement rate: USD 1.5 0 1 2 3 0 500 1000 1500 Jan-20 Mar-20 May-20 Jul-20 Sep-20 Nov-20 Jan-21 Mar-21 May-21 Jul-21 Sep-21 Nov-21 Jan-22 Mar-22 May-22 Jul-22 Sep-22 Nov-22 Foreign Reserves Months of Imports (แกนขวา) ต่ากว่าเกณฑ์มาตรฐาน 3 เดือน 250 350 450 550 650 9,000 11,000 13,000 15,000 17,000 19,000 Jan-21 Mar-21 May-21 Jul-21 Sep-21 Nov-21 Jan-22 Mar-22 May-22 Jul-22 Sep-22 Nov-22 Jan-23 Mar-23 May-23 Jul-23 USD/LAK THB/LAK (แกนขวา) ธนาคารกลางสหรัฐฯ มีแนวโน้ม ปรับอัตราดอกเบี้ยนโยบายขึ้นอีก ส่งผลให้เงินดอลลาร์แข็งค่าขึ้น -750 -500 -250 0 250 500 Q1/2015 Q1/2016 Q1/2017 Q1/2018 Q1/2019 Q1/2020 Q1/2021 Q1/2022 Q1/2013 Goods Service Primary income Secondary income CA เงินกีบแข็งค่า เงินกีบอ่อนค่า
  • 18. 18 สปป.ลาวมีแนวโน้มใช้นโยบายการคลังเข้มงวดต่อไป ประกอบกับเร่งเจรจาปรับโครงสร้างหนี้สาธารณะ เพื่อแก้ปัญหาความเปราะบางทางการคลัง ส่งผลให้การลงทุนภาครัฐลดลง ซึ่งจะกระทบการเติบโตของเศรษฐกิจได้ หมายเหตุ : *กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก ที่มา : การวิเคราะห์โดย EIC จากข้อมูลของ หมายเหตุ : *คาดการณ์โดย IMF **Overall balance คือ ดุลการคลัง Primary balance คือ ดุลการคลังเบื้องต้น (หักรายจ่ายดอกเบี้ย) ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ MF Article IV (Lao PDR, May 2023) Lao PDR 1. สปป.ลาวเริ่มใช้นโยบายการคลังเข้มงวด ส่งผลให้ดุลการคลังเบื้องต้นเกินดุลเล็กน้อย* หน่วย : % ของ GDP 2. ภาระดอกเบี้ยสูงจากการก่อหนี้ในอดีต ทาให้สปป.ลาวต้องกู้เพิ่มเพื่อชาระดอกเบี้ย* หน่วย : % ของ GDP 3. หนี้สาธารณะยังอยู่ในระดับสูง สปป.ลาวจึงต้องเร่งเจรจาปรับโครงสร้างหนี้* หน่วย : % ของ GDP หน่วย : %YOY • สปป.ลาวเริ่มใช้นโยบายการคลังเข้มงวดมากขึ้น เช่น ลดรายจ่ายภาครัฐ ขยายฐานภาษี และชะลอการลงทุนใหม่ ในโครงการขนาดใหญ่ (ยกเว้นโครงการที่มีความสาคัญสูง) ทาให้ดุลการคลังเบื้องต้น (ดุลการคลังหักรายจ่าย ดอกเบี้ย) มีแนวโน้มเกินดุลเล็กน้อย • ดุลการคลัง (รวมรายจ่ายดอกเบี้ย) ยังขาดดุล ทาให้สปป.ลาวต้องกู้เพิ่มเพื่อชาระดอกเบี้ย โดยเฉพาะจากแหล่งเงินทุนภายในประเทศ เนื่องจากตลาดนอกประเทศเข้าถึงยาก หนี้สาธารณะจึงจะยัง อยู่ในระดับสูง • สปป.ลาวจึงจาเป็นต้องเร่งเจรจาปรับโครงสร้างหนี้ โดยเฉพาะจีนซึ่งเป็นเจ้าหนี้รายใหญ่สุด เพื่อหาทางออกที่ยั่งยืน และเร่งปรับโครงสร้างรายได้รายจ่ายภาคการคลัง • นโยบายการคลังตึงตัวขึ้น ทาให้อัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจต่ากว่าในอดีต เนื่องจากแรงส่งจากการลงทุน ภาครัฐลดลง นอกจากนี้ หากรัฐบาลกู้เงินจากธนาคารอาจทาให้ภาคเอกชนเข้าถึงสินเชื่อในประเทศได้ยากขึ้น หรือต้นทุนแพงขึ้น (Crowding out) หรือหากรัฐบาลกู้เงินจากธนาคารกลาง อาจเป็นแรงกดดันให้เงินเฟ้อ เร่งตัวและเงินกีบอ่อนค่าลงอีก 0 5 10 15 20 2019 2020 2021 2022 2023f 2024f 2025f Gross financing needs -6 -4 -2 0 2 2019 2020 2021 2022 2023f 2024f 2025f Primary balance** Interest payments Overall balance** 69.1 76.0 92.4 128.5 123.1 120.1 116.0 0 20 40 60 80 100 120 140 2019 2020 2021 2022 2023f 2024f 2025f Public and public guaranteed debt
  • 19. เศรษฐกิจเมียนมาถูกกดดันจากความไม่แน่นอนทางการเมืองต่อเนื่อง ส่งผลให้กิจกรรมทางเศรษฐกิจและตลาดแรงงาน ยังอ่อนแอแม้จะเริ่มทยอยฟื้นตัวจากฐานต่าอย่างช้า ๆ ขณะที่ชาติตะวันตกยังคงใช้มาตรการคว่าบาตรต่อเนื่องส่งผลให้ การฟื้นตัวของเศรษฐกิจเป็นไปได้อย่างจากัดในระยะปานกลาง เศรษฐกิจเมียนมา
  • 20. 20 SCB EIC คงประมาณการการขยายตัวของเศรษฐกิจเมียนมาที่ 3.0% ในปีงบประมาณ 2022/2023 สะท้อนกิจกรรมทาง เศรษฐกิจที่ฟื้นตัวค่อยเป็นค่อยไป ท่ามกลางหลายปัจจัยลบที่กดดันให้เศรษฐกิจเมียนมาขยายตัวต่าในระยะปานกลาง หมายเหตุ : *กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก ที่มา : การวิเคราะห์โดย EIC จากข้อมูลของ หมายเหตุ : ปี 2023f คือปีงบประมาณ 2022/2023 ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ Central Statistical Organization และ IMF อัตราการขยายตัวของเศรษฐกิจเมียนมา หน่วย : %YOY ปัจจัยบวก ปัจจัยลบ ปัจจัยเสี่ยงที่ควรจับตา • กิจกรรมทางเศรษฐกิจทยอยกลับมาเป็นปกติมากขึ้นหลังเหตุการณ์ ความไม่สงบทางการเมืองผ่อนลง • การเปิดประเทศของจีน จะช่วยสนับสนุนการลงทุนโดยตรงจากจีน และกระตุ้นการค้าชายแดน • มาตรการคว่าบาตรของชาติตะวันตกจะคงอยู่ต่อไปและอาจเพิ่มขึ้น กระทบการเข้าถึงแหล่งเงินทุนและความเชื่อมั่นนักลงทุน • การหยุดชะงักของโครงสร้างพื้นฐานสาคัญ เช่น พลังงานไฟฟ้าและ การขนส่งที่ถูกกระทบจากความไม่สงบ ส่งผลให้ภาคการผลิตหยุดชะงัก • ความล่าช้าในการออกใบอนุมัติการค้า กระทบการนาเข้าวัตถุดิบและ การส่งออก เพิ่มต้นทุนการทาธุรกิจ • ตลาดแรงงานยังเปราะบางและฟื้นตัวช้า • เศรษฐกิจโลกชะลอตัว กระทบภาคการส่งออก • ค่าเงินผันผวน กระทบต่อต้นทุนการทาธุรกิจและอัตราเงินเฟ้อลดลงช้า • ความเสี่ยงด้านเสถียรภาพการคลัง จากการจัดเก็บรายได้ที่ลดลงและ ความสามารถในการระดมทุนที่จากัด • ความไม่แน่นอนทางการเมืองที่อาจรุนแรงขึ้น 5.3 5.5 6.5 7.9 8.2 7.5 6.4 5.8 6.4 6.8 3.2 -5.9 2.0 3.0 -8 -6 -4 -2 0 2 4 6 8 10 2010 2011 2012 2013 2014 2015 2016 2017 2018 2019 2020 2021 2022p 2023f อัตราการเติบโตเฉลี่ย 6.6% Myanmar
  • 21. 21 กิจกรรมทางเศรษฐกิจในเมียนมาทยอยฟื้นตัวตามสถานการณ์ความไม่สงบที่ผ่อนลงบ้าง แต่ยังต่ากว่าระดับ ก่อน COVID-19 และก่อนรัฐประหารอยู่มาก โดยเหตุการณ์ความไม่สงบที่ยังไม่คลี่คลายจะกดดันการฟื้นตัวต่อไป หมายเหตุ : *กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก ที่มา : การวิเคราะห์โดย EIC จากข้อมูลของ ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ ACLED (https://acleddata.com/) S&P Global และ CEIC เหตุการณ์ความไม่สงบในประเทศลดลงบ้าง แต่ยังกดดันกิจกรรมทางเศรษฐกิจต่อเนื่อง ภาคการผลิตเริ่มขยายตัวในปี 2023 หลังซบเซากว่าสามปี แต่ยังมีหลายปัจจัยกดดันการฟื้นตัว จานวนเหตุการณ์ความรุนแรงในประเทศ หน่วย : ครั้ง ดัชนี PMI ภาคการผลิต หน่วย : ดัชนี (>50 = ขยายตัว, <50 = หดตัว) 1247 1273 1240 1202 1180 1017 1126 955 930 820 895 0 200 400 600 800 1000 1200 1400 Jul-22 Aug-22 Sep-22 Oct-22 Nov-22 Dec-22 Jan-23 Feb-23 Mar-23 Apr-23 May-23 25 30 35 40 45 50 55 60 Jan-20 Mar-20 May-20 Jul-20 Sep-20 Nov-20 Jan-21 Mar-21 May-21 Jul-21 Sep-21 Nov-21 Jan-22 Mar-22 May-22 Jul-22 Sep-22 Nov-22 Jan-23 Mar-23 May-23 COVID-19 Wave 1 Wave 2 Political Crisis Wave 3 ขยายตัว หดตัว จานวนผู้โดยสารทางอากาศขาเข้าสนามบินย่างกุ้ง หน่วย : ราย 0 50,000 100,000 150,000 200,000 250,000 Jan-19 Apr-19 Jul-19 Oct-19 Jan-20 Apr-20 Jul-20 Oct-20 Jan-21 Apr-21 Jul-21 Oct-21 Jan-22 Apr-22 Jul-22 Oct-22 Jan-23 Apr-23 International Domestic ผลสารวจ PMI ภาคการผลิตเดือน พ.ค. ชี้ให้เห็นว่า : 1. อุปสงค์ต่อสินค้าขยายตัวต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 5 ส่งผลให้การผลิตขยายตัวต่อเนื่องเช่นกัน 2. ธุรกิจยังเผชิญปัญหาการขาดแคลนวัตถุดิบ แรงงาน และพลังงานไฟฟ้า โดยมีสาเหตุจาก การขนส่งที่หยุดชะงัก ความล่าช้าในการออกใบอนุมัตินาเข้าสินค้า จานวนแรงงาน ในตลาดแรงงานที่ยังไม่กลับมาเต็มที่ และการลงทุนในโรงงานผลิตไฟฟ้าที่ลดลง 3. กาลังการผลิตของธุรกิจไม่เพียงพอต่อความต้องการสินค้า ส่งผลให้ธุรกิจต้องระบายสินค้า คงคลังเพิ่ม 4. แรงกดดันเงินเฟ้อสูง ตามการอ่อนค่าของเงินจัตและการขาดแคลนวัตถุดิบ 5. ธุรกิจมีมุมมองในอนาคตที่ดีขึ้น ความเชื่อมั่นธุรกิจแตะระดับสูงสุดตั้งแต่เดือน ม.ค. 2021 Myanmar
  • 22. 22 ภาคครัวเรือนเมียนมามีความเปราะบางสูงขึ้นหลังวิกฤต COVID-19 และรัฐประหาร โดยผลสารวจจาก World Bank ชี้ให้เห็นถึงรายได้และการจ้างงานที่ลดลง ซึ่งเป็นแผลเป็นเศรษฐกิจฉุดรั้งการบริโภคในระยะต่อไป หมายเหตุ : *กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก ที่มา : การวิเคราะห์โดย EIC จากข้อมูลของ ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ Sinha Roy, Sutirtha; Demarchi, Giorgia; Rhoads, Elizabeth. 2023. A Growing Crisis: Work, Workers, and Wellbeing in Myanmar? Washington, DC: World Bank. สัดส่วนแรงงานที่ทางานชั่วคราว (Casual work) หน่วย : % อัตราการจ้างงานและการมีส่วนร่วมในตลาดแรงงาน หน่วย : % สัดส่วนแรงงานที่ได้รับค่าจ้างประจา หน่วย : % 64.2 61.2 60.3 54.5 64.7 62.0 60.5 58.6 40 45 50 55 60 65 70 2015 2017 2019 2022 Employment rate Labor force participation rate 35.3 36.8 35.1 28.9 0 10 20 30 40 50 60 70 80 90 100 2015 2017 2019 2022 Wage employment Non-wage employment 4.5 9.4 10.7 22.3 9.3 7.7 14.1 25.7 0 5 10 15 20 25 30 Male-Paid Male-Unpaid Female-Paid Female-Unpaid 2017 2022 • ตลาดแรงงานเมียนมาอ่อนแอมากขึ้นตามเศรษฐกิจที่ซบเซา โดยวิกฤต COVID-19 และรัฐประหารส่งผลให้แรงงานจานวนหนึ่งตกงาน ขณะที่แรงงานบางกลุ่มเดินทางกลับภูมิลาเนาในช่วงที่เกิดสถานการณ์ความรุนแรง และยังไม่ได้กลับเข้าสู่ตลาดแรงงาน ซึ่งอาจเป็นผลจากหลายปัจจัย อาทิ ความกังวลเรื่องความปลอดภัย ค่าใช้จ่ายในการเดินทางที่สูงขึ้นตามราคาน้ามัน หรือได้งานใหม่ทดแทน เช่น การช่วยเหลือครอบครัวหรือทา เกษตรกรรม ซึ่งสอดคล้องกับการสารวจธุรกิจที่ยังพบการขาดแคลนแรงงาน โดยเฉพาะภาคการผลิต • สัดส่วนแรงงานที่ได้รับค่าจ้างประจาลดลง ขณะที่สัดส่วนการทางานชั่วคราว (Casual work) เพิ่มขึ้น อาจทาให้รายได้ลดลงและมีความไม่แน่นอนขึ้น ซึ่งจะกดดันการใช้จ่ายของผู้บริโภค Myanmar
  • 23. 23 เมียนมามีแนวโน้มใช้มาตรการรักษาเสถียรภาพเงินจัตเพิ่มเติม โดยอาจเร่ง สนับสนุนการใช้สกุลเงินประเทศคู่ค้าในการค้าระหว่างประเทศเช่น ล่าสุด ได้บังคับให้ผู้ประกอบการใช้เงินหยวนค้าขายกับจีนและอาจขยายมาตรการ ไปสกุลอื่น เช่น บาทไทยและรูปีอินเดีย แม้จะยังไม่ถึงขั้นบังคับใช้ในปัจจุบัน นอกจากนี้ เมียนมาจะยังบังคับให้ผู้ส่งออกแลกรายได้จากการส่งออก65% กลับเป็นจัตและบังคับให้ธุรกิจแลกเงินทาตามข้อบังคับที่กาหนด สหรัฐฯ คว่าบาตรกระทรวงกลาโหมเมียนมาและธนาคารแห่งรัฐสองราย เพื่อจากัดความสามารถของเมียนมาในการซื้อยุทโธปกรณ์ โดยเฉพาะจาก รัสเซีย และการเข้าถึงตลาดและสกุลเงินต่างประเทศ ซึ่งเป็นช่องทางการ หารายได้เข้ารัฐ ทั้งนี้ SCB EIC มองว่าผลกระทบต่อธุรกิจจะมีจากัด เพราะ ธนาคารทั้งสองแห่งรองรับธุรกรรมระหว่างรัฐมากกว่า (Gov. to Gov.) ประเทศ ASEAN ยังเห็นไม่ตรงกันในหนทางการแก้ปัญหาวิกฤตในเมียนมา* ในมุมมองของไทยต้องเร่งเจรจากับรัฐบาลทหารเมียนมาเพื่อหาทางออก ขณะที่บางประเทศ เช่น อินโดนีเซียและสิงคโปร์ไม่อยากให้ความชอบธรรม กับรัฐบาลทหารเมียนมา ซึ่งทาให้ ASEAN ยังไม่สามารถหาจุดยืนเดียวกัน ในการแก้ปัญหาเมียนมาอย่างยั่งยืน ทั้งนี้ต้องจับตานโยบายของรัฐบาล ใหม่ของไทยว่าจะมีทิศทางเรื่องนี้อย่างไร ชาติตะวันตกใช้มาตรการคว่าบาตรเมียนมาต่อเนื่องกดดันการค้าและการลงทุน ส่งผลให้เงินจัตอ่อนค่าต่อเนื่อง ทั้งนี้เมียนมาจะได้ประโยชน์จากการเปิดประเทศของจีนซึ่งคาดว่าจะมีบทบาทมากขึ้นหลังชาติตะวันตกถอนตัว หมายเหตุ : *กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก ที่มา : การวิเคราะห์โดย EIC จากข้อมูลของ หมายเหตุ : *ASEAN ได้ตกลงฉันทมิติ 5 ข้อในเดือน เม.ย. ปี 2021 เพื่อหาทางยุติความรุนแรงและสนับสนุนการเจรจา แต่ยังไม่มีความคืบหน้าชัดเจน ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ CEIC, Central Bank of Myanmar, US Department of Treasury และสานักข่าวต่างประเทศ มูลค่าการส่งออกในช่วง 5 เดือนแรกของแต่ละปี หน่วย : ล้านดอลลาร์สหรัฐ อัตราแลกเปลี่ยน หน่วย : USD/MMK มูลค่า FDI ที่ได้รับการอนุมัติคงค้างในช่วง 5 เดือนแรกของแต่ละปี หน่วย : ล้านดอลลาร์สหรัฐ มูลค่าการทาธุรกรรมด้วยสกุลเงินดอลลาร์สหรัฐ หน่วย : ล้านดอลลาร์สหรัฐ (30-day moving avg.) แนวโน้มนโยบายควบคุมค่าเงิน มาตรการคว่าบาตรล่าสุด (เดือน มิ.ย. 2023) มุมมองไทยและ ASEAN ต่อการแก้ปัญหาในเมียนมา 1,200 1,700 2,200 2,700 Jan-21 Apr-21 Jul-21 Oct-21 Jan-22 Apr-22 Jul-22 Oct-22 Jan-23 Apr-23 Bank-customer transactions rate (30-day moving avg.) Central Bank reference rate 0 20 40 60 80 Jan-19 May-19 Sep-19 Jan-20 May-20 Sep-20 Jan-21 May-21 Sep-21 Jan-22 May-22 Sep-22 Jan-23 May-23 Bank-customer transactions Interbank transactions 7,689 7,241 6,467 6,444 6,052 0 2,000 4,000 6,000 8,000 2019 2020 2021 2022 2023 Border Seas 0 20,000 40,000 60,000 80,000 100,000 2019 2020 2021 2022 2023 China Hong Kong Thailand Singapore Others แม้การส่งออกเมียนมาหดตัว แต่ยัง มีแรงส่งจากจีน แสดงให้เห็นจาก มูลค่าส่งออกชายแดนที่เพิ่มขึ้น มูลค่า Approved FDI ซบเซา ตั้งแต่เกิดรัฐประหารในปี 2021 เงินจัตอ่อนค่าจากปริมาณ USD ที่ไม่เพียงพอต่อความ ต้องการหลังถูกคว่าบาตรและการค้าการลงทุนซบเซา การทาธุรกรรมด้วย USD ยังซบเซา ตามเศรษฐกิจ ที่อ่อนแอและปริมาณเงินสดหมุนเวียนไม่เพียงพอ เงินจัตอ่อนค่า Myanmar
  • 24. เศรษฐกิจกิจเวียดนามมีแนวโน้มขยายตัวซบเซาต่ากว่าคาดการณ์ก่อนหน้า จากการส่งออกและการลงทุนโดยตรงจาก ต่างประเทศที่อ่อนแอ ประกอบกับความเสี่ยงอื่น ๆ รุมเร้า อาทิ การขาดแคลนสภาพคล่องจากภาวะการเงินตึงตัว ส่งผลให้ภาคอสังหาฯ ชะลอตัวรุนแรง ความไม่แน่นอนทางการเมือง และพลังงานไฟฟ้าขาดแคลน เศรษฐกิจเวียดนาม
  • 25. 25 SCB EIC ปรับลดประมาณการเศรษฐกิจเวียดนามเหลือ 5.0% (เดิมคาด 6.2%) จากภาคการส่งออก ภาคอุตสาหกรรม และภาคอสังหาริมทรัพย์ที่ซบเซา ประกอบกับมีหลายปัจจัยเสี่ยงกดดันเศรษฐกิจในปีนี้ หมายเหตุ : *กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก ที่มา : การวิเคราะห์โดย EIC จากข้อมูลของ ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ CEIC และ General Statistics Office อัตราการขยายตัวของเศรษฐกิจเวียดนาม หน่วย : %YOY ปัจจัยบวก ปัจจัยลบ ปัจจัยเสี่ยงที่ควรจับตา • การเปิดประเทศของจีน ช่วยกระตุ้นภาคการท่องเที่ยวเวียดนาม • การบริโภคภายในประเทศ ขยายตัวต่อเนื่องตามตลาดแรงงานฟื้นตัว • การย้ายฐานการผลิตมาเวียดนามและความสนใจจากนักลงทุนสูง ด้วยความได้เปรียบด้านค่าแรง ที่ตั้ง และสนธิสัญญาการค้าเสรีต่าง ๆ • เศรษฐกิจโลกชะลอตัว กดดันภาคการส่งออกและ FDI • ปัญหาการขาดแคลนสภาพคล่อง หลังภาวะการเงินตึงตัวขึ้น กระทบ ความเชื่อมั่นภาคธุรกิจและการระดมทุนเพื่อชาระหนี้และลงทุน • การชะลอตัวของภาคอสังหาฯ ทั้งด้านการก่อสร้างและอุปสงค์ • ระดับหนี้เสียสูงขึ้น บางกลุ่มธุรกิจเผชิญข้อจากัดในการชาระหนี้ ซึ่งซ้าเติมให้ธนาคารปล่อยสินเชื่อลดลงและอาจกระทบต่อการลงทุน ภาคเอกชนและเสถียรภาพระบบสถาบันการเงิน • การขาดแคลนพลังงานไฟฟ้า กระทบกาลังการผลิตภาคอุตสาหกรรม • ความตึงเครียดทางภูมิรัฐศาสตร์ในพื้นที่ทะเลจีนใต้ 6.4 5.5 5.6 6.4 7.0 6.7 6.9 7.5 7.4 2.9 2.6 8.0 5.0 0 2 4 6 8 10 2011 2012 2013 2014 2015 2016 2017 2018 2019 2020 2021 2022 2023f 7.1 7.2 7.6 7.5 3.2 0.3 3.0 4.7 4.9 6.6 -6.0 5.2 5.1 7.8 13.7 5.9 3.3 4.1 -8 -4 0 4 8 12 Q1/19 Q2/19 Q3/19 Q4/19 Q1/20 Q2/20 Q3/20 Q4/20 Q1/21 Q2/21 Q3/21 Q4/21 Q1/22 Q2/22 Q3/22 Q4/22 Q1/23 Q2/23 Agriculture Industry Services Tax less subsidies Vietnam
  • 26. 26 อุปสงค์จากต่างประเทศมีแนวโน้มซบเซาในปีนี้ตามทิศทางเศรษฐกิจโลก โดยเฉพาะการค้าและการลงทุน ในอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ที่เวียดนามพึ่งพาสูง ขณะที่ภาคการท่องเที่ยวมีแนวโน้มฟื้นตัวต่อเนื่อง หมายเหตุ : *กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก ที่มา : การวิเคราะห์โดย EIC จากข้อมูลของ ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ CEIC General Statistics Office Foreign Investment Agency และ Vietnam National Administration of Tourism จานวนนักท่องเที่ยวต่างชาติ หน่วย : ล้านคน การส่งออกสินค้า หน่วย : %YOY -25 0 25 50 Electronics Machine & parts Textiles & footwear Wood products Others 0.0 0.5 1.0 1.5 2.0 Jan-19 Apr-19 Jul-19 Oct-19 Jan-20 Apr-20 Jul-20 Oct-20 Jan-21 Apr-21 Jul-21 Oct-21 Jan-22 Apr-22 Jul-22 Oct-22 Jan-23 Apr-23 China Asia ex. China Americas Europe Oceania Others การลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ หน่วย : %YOY (ค่าเฉลี่ยเคลื่อนที่ 6 เดือน) -30 -15 0 15 30 Feb-22 Mar-22 Apr-22 May-22 Jun-22 Jul-22 Aug-22 Sep-22 Oct-22 Nov-22 Dec-22 Jan-23 Feb-23 Mar-23 Apr-23 May-23 Approved FDI Disbursed FDI • การส่งออกเวียดนามหดตัวต่อเนื่องในช่วงครึ่งแรกของปี จากอุปสงค์ประเทศคู่ค้าที่ชะลอตัว ตามเศรษฐกิจโลก ขณะที่การเปิดประเทศของจีนไม่ได้ส่งผลบวกต่อการส่งออกเวียดนามมากนัก เนื่องจากสินค้าส่งออกเวียดนามส่วนใหญ่เป็นวัตถุดิบในการผลิต ซึ่งภาคการผลิตจีนยังซบเซา ในครึ่งแรกของปีนี้ ทั้งนี้ SCB EIC มองว่าการส่งออกจะทยอยฟื้นตัวได้ในช่วงครึ่งหลังของปี • การลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศถูกกดดันจากกาไรบริษัทข้ามชาติที่ลดลงและความไม่ แน่นอนที่สูงขึ้น ทั้งจากเศรษฐกิจโลกและนโยบายภายในประเทศช่วงปราบคอรัปชั่นและ เปลี่ยนประธานาธิบดี • ภาคการท่องเที่ยวมีแนวโน้มฟื้นตัวต่อเนื่องในปีนี้ แรงสนับสนุนสาคัญจากนักท่องเที่ยวจีน ซึ่งคิดเป็นประมาณ 30% ของนักท่องเที่ยวต่างชาติทั้งหมดก่อนการระบาด COVID-19 Vietnam
  • 27. 27 การบริโภคภายในประเทศขยายตัวได้ตามรายได้และการจ้างงานที่ฟื้นตัว อย่างไรก็ตาม เริ่มมีสัญญาณ ความเปราะบางในการจ้างงานภาคอุตสาหกรรม ซึ่งอาจทาให้อัตราการว่างงานปรับสูงขึ้นในระยะต่อไป หมายเหตุ : *กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก ที่มา : การวิเคราะห์โดย EIC จากข้อมูลของ ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ General Statistics Office ดัชนีผลผลิตภาคอุตสาหกรรมและการจ้างงานในภาคอุตสาหกรรม หน่วย : %YOY (ค่าเฉลี่ยเคลื่อนที่ 3 เดือน) ยอดค้าปลีก หน่วย : ล้านล้านดอง หน่วย : %YOY อัตราการว่างงานและรายได้เฉลี่ยต่อเดือน หน่วย : % หน่วย : พันดอง -10 0 10 20 Mar-19 Jul-19 Nov-19 Mar-20 Jul-20 Nov-20 Mar-21 Jul-21 Nov-21 Mar-22 Jul-22 Nov-22 Mar-23 Industrial Production Labor Employed Index -30 -15 0 15 30 45 60 0 100 200 300 400 500 600 Jan-19 Jul-19 Jan-20 Jul-20 Jan-21 Jul-21 Jan-22 Jul-22 Jan-23 Retail Sales Value Growth Rate (RHS) 2.25 1.94 7,903 5,000 5,500 6,000 6,500 7,000 7,500 8,000 8,500 1 1.5 2 2.5 3 3.5 4 4.5 5 Q1/20 Q3/20 Q1/21 Q3/21 Q1/22 Q3/22 Q1/23 Unemployment Rate Underemployment Rate Avg. Monthly Earning (RHS) ยอดค้าปลีกยังคงขยายตัว แข็งแกร่ง โดยเฉพาะการ ใช้จ่ายท่องเที่ยว การจ้างงานและรายได้แรงงานฟื้นตัวช่วย สนับสนุนการใช้จ่ายผู้บริโภค ภาคอุตสาหกรรมส่งสัญญาณเปราะบางมากขึ้น อาจนาไปสู่การเลิกจ้างในระยะต่อไป ปัญหาการขาดแคลนไฟฟ้าเป็นความเสี่ยงต่อภาคอุตสาหกรรมเวียดนาม โดยมองว่าเป็นปัจจัยชั่วคราวที่เกิดจากความต้องการไฟฟ้าที่สูงขึ้นมากในช่วง อากาศร้อน ขณะที่ภัยแล้งทาให้โรงไฟฟ้าพลังงานน้าผลิตไฟได้น้อยลง ทั้งนี้หาก สถานการณ์ยืดเยื้ออาจทาให้การผลิตภาคอุตสาหกรรมลดลงได้ชั่วคราว และเป็นปัจจัยกดดันซ้าเติมการจ้างงานในภาคอุตสาหกรรม Vietnam
  • 28. 28 ภาวะการเงินเวียดนามยังตึงตัวสูง แม้จะผ่อนคลายลงบ้างหลังธนาคารกลางเริ่มปรับลดอัตราดอกเบี้ยนโยบาย อัตราดอกเบี้ยธนาคารที่สูงขึ้นส่งผลให้ธุรกิจเผชิญปัญหาขาดสภาพคล่อง โดยเฉพาะภาคอสังหาฯ หมายเหตุ : *กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก ที่มา : การวิเคราะห์โดย EIC จากข้อมูลของ หมายเหตุ : *อัตราดอกเบี้ยเงินฝากบัญชีออมทรัพย์ 12 เดือนสาหรับบุคคลทั่วไปของธนาคาร Vietcombank ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ State Bank of Vietnam และ Vietnam Bond Market Association อัตราการขยายตัวของสินเชื่อและเงินฝากคงค้าง หน่วย : %YOY อัตราดอกเบี้ยนโยบายและอัตราดอกเบี้ยเงินฝาก หน่วย : % 3.0 4.5 7.1 0 2 4 6 8 Jan-15 Jun-15 Nov-15 Apr-16 Sep-16 Feb-17 Jul-17 Dec-17 May-18 Oct-18 Mar-19 Aug-19 Jan-20 Jun-20 Nov-20 Apr-21 Sep-21 Feb-22 Jul-22 Dec-22 May-23 Discount rate (policy) Refinancing rate (policy) Commercial bank deposit rate* -10 0 10 20 30 Jan-19 Apr-19 Jul-19 Oct-19 Jan-20 Apr-20 Jul-20 Oct-20 Jan-21 Apr-21 Jul-21 Oct-21 Jan-22 Apr-22 Jul-22 Oct-22 Jan-23 Apr-23 Credit outstanding Deposits of economic entities (Firms) Savings deposits (Individuals) 0 20,000 40,000 60,000 80,000 Jan Feb Mar Apr May Jun Jul Aug Sep Oct Nov Dec 2023 2022 2021 มูลค่าการออกหุ้นกู้เอกชนใหม่ หน่วย : พันล้านดอง • ภาวะการเงินเวียดนามตึงตัวขึ้น จากการปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบายอย่างรวดเร็วปลายปีก่อน การออกมาตรการเพิ่มความเข้มงวดกฎระเบียบการออกหุ้นกู้ และการจับกุมประธานบริษัทอสังหาฯ ในข้อห้าฉ้อโกง ซึ่งทาให้ธุรกิจ และธนาคารเผชิญต้นทุนการระดมทุนที่สูงขึ้น ขณะที่ความเชื่อมั่นนักลงทุนลดลง แม้อัตราดอกเบี้ยนโยบายจะปรับลดลงมาแล้ว แต่ภาวะการเงินยังค่อนข้างตึงตัวต่อ • สินเชื่อขยายตัวชะลอตัวลง ตามอัตราดอกเบี้ยและความเสี่ยงการผิดนัดชาระหนี้ที่สูงขึ้น ซึ่งส่งผลให้อุปสงค์สินเชื่อลดลงและธนาคารเพิ่มความเข้มงวดในการอนุมัติสินเชื่อ • มูลค่าเงินฝากบัญชีออมทรัพย์เพิ่มสูงขึ้น ตามอัตราดอกเบี้ยเงินฝากและการปิดรับความเสี่ยงของนักลงทุน สวนทางกับเงินฝากของธุรกิจที่ลดลงหลังธุรกิจถอนเงินออกในช่วงที่ระดมทุนได้ยาก • มูลค่าการออกหุ้นกู้ใหม่ซบเซาตั้งแต่เดือน ต.ค. 2022 สะท้อนความเชื่อมั่นนักลงทุนที่ยังไม่กลับมา ซึ่งกระทบภาคอสังหาฯ มากเนื่องจากพึ่งพาตลาดทุนและหุ้นกู้สูง Vietnam อัตราดอกเบี้ยเงินฝากยังอยู่ในระดับสูงและลดลงช้ากว่าอัตราดอกเบี้ย นโยบาย เนื่องจากธนาคารเวียดนามจาเป็นต้องดึงดูดเงินฝากเพื่อบริหาร สภาพคล่องตามต้นทุนการระดมทุนที่สูงขึ้น